Open post

Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นแบบองค์รวม ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับ DeFi 2.0

Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นโครงสร้างพื้นฐานแบบองค์รวมสำหรับ DeFi 2.0 และ Web3 ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่ให้ทำงานร่วมกันข้ามสายและข้ามเลเยอร์ ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับสินทรัพย์ DeFi ที่ขับเคลื่อนโดย Layer-2 Ethereum และ Polkadot ครับ DeFi Tomorrow, Today!  Cross-chain    ปัจจุบันระบบนิเวศของโปรโตคอล DeFi ยังคงเฟื่องฟู ดูได้จากการไหลของผู้ใช้และการล็อคเหรียญ (TVL) มูลค่ารวมที่สูงในแพลตฟอร์ม DeFi (Layer-2 Ethereum) ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถกู้ ยืม แลกเปลี่ยน หรือทำธุรกรรมใดๆ ได้โดยไม่ต้องให้สถาบันการเงินมาเป็นตัวกลาง แต่ปัญหาคือ ปัจจุบัน Token ไม่ได้ล็อคไว้ในโปรโตคอลเดียว (แต่สามารถใช้ภายในโปรโตคอล DeFi อื่นๆ ได้ หรือที่นิยมเรียก DeFi 2.0)ฝากหลักประกัน ในพวก Lending โปรโตคอล (Aave) แล้วนำไป – ฝาก ฯลฯ วนไป […]

Continue readingMore Tag
Open post

Qredo Network แพลตฟอร์มจัดการสินทรัพย์ดิจิทัลแบบกระจายศูนย์ (Decentralized Custody & DeFi)

Qredo Network แพลตฟอร์มจัดการสินทรัพย์ดิจิทัลแบบกระจายศูนย์ สำหรับการดูแลความปลอดภัยสินทรัพย์ดิจิทัลระดับสถาบัน Qredo Network เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยในการดูแลและรับฝากสินทรัพย์คริปโตเคอร์เรนซี (Crypto Custody Infrastructure) ที่ช่วยให้องค์กรใหม่ๆ (หรือใครก็ได้) สามารถเข้ามาลงเล่นในสนามของการดูแลและรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัลได้ (Crypto Custody)โดยที่สามารถจัดการและให้บริการดูแลและรับฝากสินทรัพย์แก่ลูกค้าของตนได้ โดยตรงโดยไม่ต้องพึ่งพาบุคคลที่สามครับ Qredo Network ใช้เทคโนโลยี Multi-party computation (MPC) MPC เป็น cryptographic tool เครื่องมือเข้ารหัสที่ช่วยให้ฝ่ายต่างๆ (ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุน) สามารถ calculation โดยใช้ข้อมูลที่รวมกันได้ โดยไม่ต้องเปิดเผยข้อมูล individual input แต่ละธุรกรรม ใครอ่านมาถึงตรงนี้จะเล่นว่ามันคล้ายๆ กับผู้เล่นรายใหญ่ในตลาดตอนนี้คือ Fireblocks (ซึ่ง SCB 10X เข้าไปลงทุนอยู่) แต่ Qredo Network เป็นองค์กรอิสระ (DAO) ที่มีการกระจายอำนาจอย่างสมบูรณ์ (ผู้ถือโทเค็น สามารถลงคะแนนเสียงในข้อเสนอการพัฒนา Qredo ได้ที่กำกับดูแลโดย Qredo ผ่าน DAO […]

Continue readingMore Tag
Open post

Mount Google Drive บนเซิฟเวอร์ VPS Cloud ด้วย Rclone

ใครใช้ Google Workspace Starter จะรู้ว่าเรามีพื้นที่เก็บข้อมูลฟรีๆ 30GB /per user แต่หากเป็นแพ็คเกจ Enterprise เราจะมีพื้นที่เก็บข้อมูลเท่าที่คุณต้องการ (As Much As You Need) คำเตือน: อย่าหาทำ คิดเอา Google Drive มาแชร์แบ่งขายนะครับ! 55++ โพสนี้พาไปรู้จักกับ Rclone และวิธีการ Backup ข้อมูลในเซิร์ฟเวอร์ หรือ Cloud VPS ไปยัง Cloud Storage กันครับ โดยวิธีการที่เรียบง่ายผ่านการ Mount Google Drive บนเซิฟเวอร์ VPS Cloud ด้วย Rclone Backup ข้อมูลในเซิร์ฟเวอร์ (Cloud VPS) ไปยัง Cloud Storage แล้ว Decentralized storage ทำไง? […]

Continue readingMore Tag
Open post
guacamole container

ติดตั้ง Apache Guacamole เพื่อทำ Remote Desktop Gateway บน Cloud container (Docker)

ก่อนอื่นเราไปทำความรู้จักกับเจ้า Apache Guacamole กันก่อนมันคืออะไร? Apache Guacamole (กัวคาโมเล) เป็นซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์สเว็บเกตเวย์สำหรับรีโมท เพื่อให้ไคลเอ็นต์สามารถเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์จากระยะไกลได้ ผ่านเว็บเบราว์เซอร์ที่รองรับ HTML5 เช่น Mozila Firefox, Google Chrome หรือ Safari โดยใช้โปรโตคอล เช่น SSH, VNC, RDP และมีระบบยืนยันตัวตนสองชั้น (OTP) หากใครยังนึกภาพไม่ออกว่าจะเอา Apache Guacamole มาอิมพลีเม้นท์หรือเป็น Solution ทางเลือกท่าไหนได้บ้าง ใช้ประโยชน์อย่างไร ผู้เขียนจะเกริ่นเล่าให้ฟัง… โดยปกติในองค์กรหรือหน่วยงานที่กำลังมองหา Remote App ที่จะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถทำงานจากที่ไหนก็ได้ เช่น รีโมทมาใช้ Application ระบบบัญชี (ERP) หรือใช้ทรัพยากรร่วมกัน (File Server) บนระบบปฏิบัติการ Windows server ถ้าเป็นท่านี้ผู้ดูแลระบบก็เพียงหาซอฟต์แวร์ Remote Desktop มาติดตั้ง หรือติดตั้งเซอร์วิส Remote Desktop […]

Continue readingMore Tag
Open post
Linux OOM (Out of Memory) ความจำเต็ม หน่วยความจำไม่เพียงพอ

Linux OOM (Out of Memory) ความจำเต็ม!!! หน่วยความจำไม่เพียงพอ

แน่นอนครับว่าการจัดการหน่วยความจำใน Linux เป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจครับ ออกแบบระบบยังไง? ให้แอพพลิเคชั่นกินแรม แล้วต่อด้วยกิน swap 555+++ ก็แค่ Firefox processes รัน 1,000 กว่า pid. เริ่มด้วยคำสั่งที่เรามักใช้กันบ่อยๆ นึกอะไรไม่ออกก็ ps, top, free โลดเช่น ดูหน่วยความจำว่าอะไรใช้อยู่บ้าง ผู้เขียนขอแบ่งปันประสบการณ์และความรู้จากการใช้ Firefox browser แอปพลิเคชันที่ทำงานใน userspace เคอร์เนล (user profiles) ที่ต้องใช้หน่วยความจำสำหรับตัวมันเอง สำหรับผู้ใช้จำนวนมากบนเซิร์ฟเวอร์เครื่องเดียว (Linux Terminal Deskop) แต่เมื่อทรัพยากรหมดเกี้ลง (แรมระบบเหลือน้อย) ระบบจะ้ช้า เว้นแต่ user logout ระบบ Linux ถึงจะกู้คืนหน่วยความจำจากสภาวะ OOM (Out of Memory) อธิบายการทำงานคือ แอพพลิเคชั่นจะต้องขอให้เคอร์เนลจัดสรรหน่วยความจำเพิ่มเติมให้แต่ถ้าดูจากรูป ไม่มีหน่วยความจำว่าง ทำให้กระบวนการทำงานช้าลง เช่น กด save […]

Continue readingMore Tag
Open post

Orchid แพลตฟอร์ม VPN แบบกระจายอำนาจที่สร้างขึ้นบนบล็อกเชน Ethereum (ที่จะมาแทน VPN แบบดั่งเดิม)

Orchid VPN แบบกระกายศุนย์ หรือ Decentralized virtual private network (เครือข่ายส่วนตัวเสมือนที่สื่อสารแบบไม่เปิดเผยตัวตน) ใครยังจำเรื่องราวเกี่ยวกับ Hidemyass ผู้ให้บริการ VPN ที่ส่งมอบข้อมูลผู้ใช้ให้กับทางการสหรัฐฯ และอีกหนึ่งกรณีที่ NordVPN ผู้ให้บริการ VPN ระดับโลก ถูก hacked หรือว่าบริการ VPN แบบกระกายศุนย์อาจไม่ปลอดภัย? ก่อนจะเข้าเรื่องผู้เขียนขอเกรินอธิบาย VPN ง่ายๆ สั้นก่อนจะไปสู่ A new model of VPN ปัจจุบันบริการ VPN เป็นแบบรวมศูนย์ ให้บริการเชื่อมต่อ VPN ที่ถูกเข้ารหัสด้วยโปรโตคอล เช่น openVPN, WireGuard หรือ PPTP, L2TP over IPsec หรือโปรแกรมอื่นๆ (ที่เราต้องใช้โปรแกรมไคลเอ็นต์เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ VPN) ส่วนผุ้ใช้อย่างเราๆ ก็จ่ายค่าบริการ VPN เป็นแบบรายเดือน (ยังไม่มีจ่ายตามใช้งานจริง) เวลาใช้งานหากเซิร์ฟเวอร์ VPN […]

Continue readingMore Tag
Open post
Ethereum-scaling-solution

เหตุใด layer-2 scaling solution จึงเป็นอาวุธลับของ Ethereum Blockchain?

จุดเกิดเหตุ: เมื่อผู้ใช้งานมีจำนวนมากบน Ethereum Blockchain สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาคือ โครงสร้างพื้นฐาน Ethereum มันไม่สามารถรองรับการทำธุรกิจกรรมที่มหาศาลได้ ทำธุรกรรมช้า บวกค่า Gas แพงโครต (เหมาะกับคนเทรดหนักๆ ใช้หลายๆ DEX พร้อมๆ กัน ^^) ประเภทของ L2 Solutions (หรือ Framework) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ On-Chain Scaling Off-Chain Scaling On-Chain Scaling กับ Off-Chain Scaling ต่างกันยังไง? On-Chain Scaling เป็นการกระจายธุรกรรมแบบขนานไปกับ Main chain โดยผู้ตรวจสอบแต่ละรายไม่ต้องดำเนินการธุรกรรมทั้งหมดจากทั้งเครือข่ายทุก Node ทั่วโลก (วิธี Sharding) Off-Chain Scaling เป็นแบบยืนยันธุรกรรมบน Mainnet Layer-1 Off-Chain แบ่งเป็น 3 แบบ State […]

Continue readingMore Tag
Open post

Blockchain โซลูชัน Layer 2 อนาคตจะเป็นยังไง?

เมื่อความสามารถในการปรับขยาย (Scaling Solution) กลายเป็นหนามยอกอกด้านข้างของ Blockchain. โซลูชัน Layer 2 จึงพัฒนาขึ้นเพื่อเผชิญกับความท้าทายนี้! อนาคตจะเป็นยังไง? เชิญมาพรีดิค… “ซูเซ่แมน” จะเล่าให้ฟัง  เทคโนโลยี Layer 2 หรือที่เรียกว่า “L2 Protocol”  Layer 2 เป็นโปรเจคที่ถูกสร้างขึ้นมาครอบ Layer 1 (เช่น Bitcoin, Ethereum, EOS, TRON ฯลฯ) อีกที โดยที่ Layer 2 เป็นการทำ Blockchain ขึ้นมาอีกตัว โดยที่โซลูชัน Layer 2 ส่วนใหญ่ออกแบบมาเพื่อลดต้นทุน ลดค่าส่งเหรียญ (แก็ส) และเพิ่มและประสิทธิภาพในการทำธุรกรรม ในช่วง 1-2ปี ที่ผ่านมา มี Layer 2 Project โผล่ขึ้นมามากมายมหาศาล เช่น ฝั่ง Ethereum ก็จะมี Layer […]

Continue readingMore Tag
Open post

DeFi rebalancing protocol แยกให้ออกอะไรคือ DeFi yield อะไรคือ Rebalancing Farm

อย่าพึ่งเบื่อกันนะครับ คอนเซ็ปบล็อกนี้คือมัดรวมทุกอย่างที่คน IT ควรรู้ คำเตือน: ข้อความทั้งหมดเป็นความคิดเห็นส่วนตัวล้วนๆ นะครับ และ No advice on investment! โพสต์นี้ผมขอใช้ชื่อซีรีส์ว่า…“คลั่งรัก” กับ DeFi protocol ไขประตูหัวใจ IT สู่โลกการเงินสมัยใหม่ถ้าใครอ่านมาถึงบรรทัดนี้ ต้องกดแชร์แล้วแหละ 55++ที่แอดใช้คำว่า “คลั่งรัก” เพราะว่าคำนี้มักใช้อธิบายอาการของคนที่มีความรักในบางสิ่งบางอย่างแล้วอินสุดๆ ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่าตอนนี้ระบบการเงินบน blockchain มันมี CeFi กับ DeFi โดยผู้ใช้ (user) สามารถสร้างกระเป๋าเงิน (wallet) กี่กระเป๋าก็ได้ใน Chain แต่ละ Chain (Ethereum, BSC, Klaytn, ฯลฯ) ถ้าหากสร้างกระเป๋าบน CeFi ก็เช่น กระเป๋าเงินที่อยู่บน Exchange เช่น Satang Pro, Binance เป็นต้น ประเด็ดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ DeFi (Decentralized finance) […]

Continue readingMore Tag
Open post
KLAYswap KSP Token Economy and Governance

แกะ KLAYswap Economy และ $KSP Governance Token

บทความนี้ขอเล่าเกี่ยวกับ Governance Token และ Economy ของแพลตฟอร์ม KLAYswap ต้องออกตัวไว้ก่อนว่าบทความนี้ไม่ได้เจาะลึก ไม่ใช่การแนะนำการลงทุนใดๆ ทั้งนั้น! ปกติโดยทั่วๆ ไปแพลตฟอร์ม DeFi ต่างๆ จะออกเหรียญของแพลตฟอร์มตัวเอง (เรียก Governance Token) โดยที่มันมีคุณสมบัญ เช่น ใครถือเหรียญก็มีสิทธิ์มีเสียงในการโหวตนโยบายของแพลตฟอร์ม และให้ผลตอบแทนบางอย่าง และ KLAYswap ก็เป็นนึ่งในแพตฟอร์ม DeFi ที่มีเหรียญ Governance Token ชื่อ KSP เปรียบเสมือน “หุ้นบริษัท” แต่ไม่มีปันผลนะ! รู้จักกับ KLAYswap DeFi เจ้าใหญ่ของฝั่งเกาหลี(KLAYswap Economy และ KSP Tokenomics) KLAYswap เป็นแพลตฟอร์ม Decentralized Finance (DeFi) โปรโตคอลแบบ AMM-based swap protocol ฝั่งเชน Klaytn. KLAYswap เปิดตัวในเดือนพฤศจิกายน […]

Continue readingMore Tag

Posts navigation

1 2 3 4 5 10 11 12
Scroll to top