ก่อนจะไปเรื่องของ Rust SDK ว่าแต่ WasmEdge คืออะไร? WasmEdge คืออะไร? WasmEdge เป็นโครงการโอเพนซอร์ซ WebAssembly Runtime ที่มีทีมดูแลโครงการ (Maintainer) โดย ParaState และ SecondState ซึ่งโฮสต์ sandbox project โดย CNCF (Cloud Native Computing Foundation) และ Linux Foundation WasmEdge มีความปลอดภัย น้ำหนักเบา และการเรียกใช้โค้ดใน sandbox และความสามารถในการปรับขนาด ในปัจจุบัน เครือข่ายบล็อกเชนที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ Etheruem และใช้ภาษาโปรแกรมเขียนโค้ดคือ Solidity ซึ่ง WasmEdge มีเป้าหมายที่จะทำลายอุปสรรคด้านภาษาของบล็อคเชนโดยการสร้าง smart contract ที่เข้ากันได้กับ EWASM/Ethereum และนักพัฒนา dApp สามารถเขียนภาษาโปรแกรมได้มากกว่า 20 ภาษา แล้ว ParaState […]
Continue readingMore TagCategory: ARCHITECTURE
Architecture
ParaState โซลูชันบล็อกเชนอินทิเกรต เทคโนโลยี EWASM กับ EVM สำหรับ blockchain smart contracts ด้วยรันไทม์ WasmEdge (ชื่อเดิม SSVM)
ParaState เป็นแพลตฟอร์มสัญญาอัจฉริยะแบบ multi-chain ที่เชื่อมแอปพลิเคชัน (DeFi DAapp) บนระบบนิเวศของ Polkadot, Substrate และ Ethereum เข้าด้วยกันเพื่อให้เข้ากันได้อย่างราบรื่นกับแอปพลิเคชั่น Ethereum EVM ที่มีอยู่ทั้งหมด ร่วมถึงระบบนิเวศเชนอื่น ๆ ที่ต้องการความเข้ากันได้ ParaState โปรโตคอลพัฒนาขึ้นโดย Core team ของ Rust Foundation และพาร์เนอร์กับทีมจาก Second State ที่จะมาเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่จะอินทิเกรตเชื่อมต่อ Ethereum กับ Polkadot โดย ParaState บล็อกเชนเป็นโซลูชันอินทิเกรตสองฝั่งที่ใช้เทคโนโลยี EWASM กับ EVM บนรันไทม์ WasmEdge หรือ SSVM (Second State Virtual Machine) ซอฟต์แวร์สร้างบล็อกเชนบน Substrat ที่จะช่วยให้โครงการต่างๆ กว่า 100 โครงการที่พัฒนาสร้างด้วย Substrate framework รวมถึงสามารถใช้ประโยชน์จากบริการข […]
Continue readingMore TagZeroTier ระบบ VPN สมัยใหม่ Decentralized บนเครือข่ายแบบ peer-to-peer network
ขอเกริ่นนำสักหน่อยครับ ปัญหาดั่งเดิมของระบบ VPN แบบศูนย์กลาง หรือ Centrally managed ไม่ว่าจะเป็น ISP Provider-managed หากมีศูนย์ข้อมูลแห่งเดียว ก็อาจกลายเป็น Single points of failure (ถึงแม้จะ Cloud เพราะศูนย์ข้อมูลอาจเกิดเหตุไฟไหม้ได้ครับ อย่างเช่น OVHcloud) คำเตือน: เนื้อหาไม่ได้เป็นเชิงลึกครับ พยายามเขียนให้ผู้อ่านเห็นภาพ ปัจจุบันเราใช้ VPN รูปแบบไหนกันบ้าง? สำหรับองค์กรส่วนใหญ่ใช้งานผ่านผู้ให้บริการเชื่อมต่อระหว่างสาขาขององค์กรผ่าน ISP. Provides IT services บนเครือข่าย MPLS หรือโซลูชั่นวงจรเช่า (carrier service) ก็คือผู้ให้บริการจะเอาอุปกรณ์ไปวางตามสาขาต่างๆ ของเรา แล้วสร้างเครือข่ายส่วนตัวเสมือนที่เรียกว่า VPN ให้ทุกสาขาสามารถติดต่อสื่อสารกับสำนักงานใหญ่ได้ เป็นต้น (หรือบางองค์กรก็อิมพลีเม้นท์ระบบ VPN เช่น อุปกรณ์ MikroTik) อีกรูปแบบหนึ่งก็ VPN เซิร์ฟเวอร์สำหรับผู้ใช้ทั่วไปเพื่อการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่มีความปลอดภัยยิ่งขึ้น เช่น บริการของ Cloudflare (WARP+) […]
Continue readingMore TagCrypto Exchange ที่คุณควรเปิดบัญชีเทรด ก่อนตกขบวนความเจริญของ KCC Chain
ออกตัวก่อนนะครับ นี่ไม่ใช่ fact-check รีวิวที่ล้ำลึกมากมายอะไร (เหรอ 55++) ปัจจุบันมีแพลตฟอร์มกระดานเทรดคริปโต (Crypto exchanges) มากกว่า 300 แพลตฟอร์ม ประเภท Centralized exchanges (CEX), Decentralized (DEX), และ Hybrid exchanges (คือรวม CEX และ DEX ไว้ในแพลตฟอร์มเดียว เช่น KuCoin) จริงๆ แล้วโดยส่วนตัว best crypto exchange! คือ Exchange ไหนต่อ Network แล้วลิสต์เหรียญใหม่ๆ ได้เร็ว (เหรียญที่เราสนใจ) และ Earn ให้เลือกลงทุน Crowdloan กับโปรเจคต่างๆ นั้นแหละ best crypto exchange! ^^ ง่ายๆ อย่างนี้เลยเหรอ เดี๋ยววว!!! (อ่านต่อเถอะ สาระ ทั้งนั้น) […]
Continue readingMore TagComposable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นแบบองค์รวม ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับ DeFi 2.0
Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นโครงสร้างพื้นฐานแบบองค์รวมสำหรับ DeFi 2.0 และ Web3 ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่ให้ทำงานร่วมกันข้ามสายและข้ามเลเยอร์ ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับสินทรัพย์ DeFi ที่ขับเคลื่อนโดย Layer-2 Ethereum และ Polkadot ครับ DeFi Tomorrow, Today! Cross-chain ปัจจุบันระบบนิเวศของโปรโตคอล DeFi ยังคงเฟื่องฟู ดูได้จากการไหลของผู้ใช้และการล็อคเหรียญ (TVL) มูลค่ารวมที่สูงในแพลตฟอร์ม DeFi (Layer-2 Ethereum) ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถกู้ ยืม แลกเปลี่ยน หรือทำธุรกรรมใดๆ ได้โดยไม่ต้องให้สถาบันการเงินมาเป็นตัวกลาง แต่ปัญหาคือ ปัจจุบัน Token ไม่ได้ล็อคไว้ในโปรโตคอลเดียว (แต่สามารถใช้ภายในโปรโตคอล DeFi อื่นๆ ได้ หรือที่นิยมเรียก DeFi 2.0)ฝากหลักประกัน ในพวก Lending โปรโตคอล (Aave) แล้วนำไป – ฝาก ฯลฯ วนไป […]
Continue readingMore TagMount Google Drive บนเซิฟเวอร์ VPS Cloud ด้วย Rclone
ใครใช้ Google Workspace Starter จะรู้ว่าเรามีพื้นที่เก็บข้อมูลฟรีๆ 30GB /per user แต่หากเป็นแพ็คเกจ Enterprise เราจะมีพื้นที่เก็บข้อมูลเท่าที่คุณต้องการ (As Much As You Need) คำเตือน: อย่าหาทำ คิดเอา Google Drive มาแชร์แบ่งขายนะครับ! 55++ โพสนี้พาไปรู้จักกับ Rclone และวิธีการ Backup ข้อมูลในเซิร์ฟเวอร์ หรือ Cloud VPS ไปยัง Cloud Storage กันครับ โดยวิธีการที่เรียบง่ายผ่านการ Mount Google Drive บนเซิฟเวอร์ VPS Cloud ด้วย Rclone Backup ข้อมูลในเซิร์ฟเวอร์ (Cloud VPS) ไปยัง Cloud Storage แล้ว Decentralized storage ทำไง? […]
Continue readingMore Tagติดตั้ง Apache Guacamole เพื่อทำ Remote Desktop Gateway บน Cloud container (Docker)
ก่อนอื่นเราไปทำความรู้จักกับเจ้า Apache Guacamole กันก่อนมันคืออะไร? Apache Guacamole (กัวคาโมเล) เป็นซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์สเว็บเกตเวย์สำหรับรีโมท เพื่อให้ไคลเอ็นต์สามารถเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์จากระยะไกลได้ ผ่านเว็บเบราว์เซอร์ที่รองรับ HTML5 เช่น Mozila Firefox, Google Chrome หรือ Safari โดยใช้โปรโตคอล เช่น SSH, VNC, RDP และมีระบบยืนยันตัวตนสองชั้น (OTP) หากใครยังนึกภาพไม่ออกว่าจะเอา Apache Guacamole มาอิมพลีเม้นท์หรือเป็น Solution ทางเลือกท่าไหนได้บ้าง ใช้ประโยชน์อย่างไร ผู้เขียนจะเกริ่นเล่าให้ฟัง… โดยปกติในองค์กรหรือหน่วยงานที่กำลังมองหา Remote App ที่จะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถทำงานจากที่ไหนก็ได้ เช่น รีโมทมาใช้ Application ระบบบัญชี (ERP) หรือใช้ทรัพยากรร่วมกัน (File Server) บนระบบปฏิบัติการ Windows server ถ้าเป็นท่านี้ผู้ดูแลระบบก็เพียงหาซอฟต์แวร์ Remote Desktop มาติดตั้ง หรือติดตั้งเซอร์วิส Remote Desktop […]
Continue readingMore Tagตั้งศูนย์บัญชาการ Kubernetes ด้วย Kubefed (Multi-Region Kubernetes Cluster Federation)
ในบทความนี้จะมี marketing keywords คำหลักๆ อยู่ 3 คำคือ Kubernetes Cluster, Multi-Region Kubernetes, Federation ครับ แล้ว Kubernetes Cluster คืออะไร? คือชุดของ Host container ของเราสำหรับรัน Application ซึ่งทำงานใน container เหล่านี้ครับและ Host เหล่านี้เรียกว่า Node ของ Kubernetes คลัสเตอร์ ทุกคลัสเตอร์ Kubernetes จะมีอย่างน้อย 1 Master node และ 1 Worker node โดยหน้าที่หลักของ Master node จะมีหน้าที่กำหนดกฏเกณฑ์ตั้งค่าต่างๆ ส่วน Worker node ทำหน้าที่เป็นโปรแกรมเรียกใช้ Application ใน container. Multi-Region Kubernetes กับ […]
Continue readingMore Tagทำ Cloud Desktop (DaaS) บน Platform-as-a-service (PaaS)
สำหรับโพสต์นี้ผู้เขียนจะพาไปติดตั้ง Cloud Desktop ด้วยซอฟต์แวร์ NoMachine สำหรับให้บริการ DaaS (Desktop as a Service) โดย Desktop GUI เป็น GNOME. แล้ว DaaS คืออะไร? ต่างจาก VDI มั้ย? ปกติเราจะคุ้นชินกันกับคำว่า “Desktop” มันต้องอยู่บน PC, Laptop ซิ จะอยู่บน Cloud ได้ยังไง?เมื่อก่อนการติดตั้งโปรแกรม Deply ก็ต้องมานั่งติดตั้งหรือโคลนกันทุก ๆ เครื่อง ปัจจุบันนี้ก็ง่ายขึ้นมาหน่อย มีซอฟต์แวร์ Deploy จัดการการติดตั้งโปรแกรมพวกนี้เยอะแยะครับ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องอัปเดตช่องโหว่ เป็นต้น แต่ผู้ดูแลระบบก็ยังต้องค่อยดูแลทุกเครื่องอยู่นะครับ แต่พอเปลี่ยนมาเป็น Cloud Desktop อันนี้ผู้ให้บริการจะเป็นผู้ดูแล(หรือแอดมิน) มีหน้าที่ดูแล Image ของ Virtual Desktop ให้และค่อยมอนิเตอร์ปรับปรุงความมั่นคงปลอดภัยโดยรวมของระบบให้ COVID-19 highlighted the […]
Continue readingMore Tagเลิกตั้งคำถามนี้ถ้าอยากใช้บริการ Cloud
ทำไมต้องใช้ Cloud? ให้เลิกตั้งคำถามนี้ถ้าอยากใช้บริการ Cloud แต่ให้ถามว่า… ความต้องการของธุรกิจคุณทำไมต้องใช้ Cloud? โพสต์นี้ว่าด้วยเรื่องโมเดลบริการคลาวด์ (Cloud Computing Services Models) ในรูปแบบของ PaaS, IaaS, และ SaaS ครัช SaaS – (Software as a Service) แพลตฟอร์มสำหรับ End users เช่น บริการที่หลายคนใช้งานอยู่ทุกวัน Gmail, Slack, Office 365และ business apps ต่าง ๆ สำหรับ digital businesses เช่น Email marketing, Help Desk, Marketing Automation, CRM, Analytics, Invoice Application, Project Management ฯลฯ ข้อดี: […]
Continue readingMore Tag