Open post

เจาะลึก Maverick Protocol ($MAV) โมเดล AMM ใหม่ Unlocking Capital Efficiency

Maverick Protocol (MAV) ซึ่งเป็นโมเดล AMM ใหม่ที่เคลมว่าจะปลดล็อกประสิทธิภาพด้านเงินทุนที่ประสิทธิภาพสูงที่สุดในตลาด เพิ่มประสิทธิภาพของเงินทุนให้สูงสุดโดยการทำให้ capital efficiency ของสภาพคล่องเป็นไปโดยอัตโนมัติเมื่อราคาผันผวน นั้นหมายความว่าผู้ให้บริการสภาพคล่องสามารถกำหนดทิศทางราคาลงในพูลสภาพคล่องของตนได้ครับ (Dynamic Distribution AMM) Maverick is the first Dynamic Distribution AMM model. Maverick Protocol is a next-generation DeFi infrastructure provider focused on increasing industry efficiency, live on Ethereum and zkSync Era to maximize capital efficiency by Automated Liquidity Placement (ALP) in a decentralized way. Maverick […]

Continue readingMore Tag
Open post

ALEX DeFi (New ALEX Tokenomics Proposals)

ALEX DeFi protocol: Tokenomics Proposal ใหม่ เหมือน $GMX Escrowed GMX (esGMX) ออกตัวก่อนนะครับ No Investment Advice ถ้าพร้อมแล้วไปกาวกันเลย 55++[Real Yield ] Excellent proposal ครับ ซึ่งแพลตฟอร์มที่ขึ้นแท่น RealYield ก็จะมีอย่างเช่น Uniswap และ GMX ที่มีรายได้ที่ยั่งยืน ALEX DeFi protocol ถูกสร้างอยู่บน Stacks blockchain ($STX) และบันทึกธุรกรรมลงบน Bitcoin (transactions settled on Bitcoin) ALEX เป็น DeFi protocol แพลตฟอร์มเทรด Decentralized (Swap, Stake, Farm, Lend และ Spot Orderbook […]

Continue readingMore Tag
Open post

zkSync 2.0 The Future of Privacy and Scale

ทุก ๆ คนที่ลงทุนกับคริปโตเคอร์เรนซีน่าจะรู้จัก Layer-2 Solutions เป็นอย่างดี โพสนี้ไม่เหมาะกับมือใหม่ Ethereum Layer-2 scaling solution ของ zkSync 2.0 ว่าด้วยการทำธุรกรรม (โอนเหรียญ) ที่ใช้เทคนิคที่เรียกว่า ZK proof บนเครือข่าย zkSync บล็อกเชนซูโลชั่น Layer-2 Ethereum ตัวอย่างเช่น สมมติว่า Alice โอนเหรียญ 1 ETH ให้ Bob และ Bob โอนเหรียญไปให้ Charlie จำนวน 1 ETH ดังนั้นการตรวจสอบหลักฐานว่า Alice มี ETH น้อยกว่าเมื่อก่อนหรือไม่ (และยอดคงเหลือของ Bob ไม่เปลี่ยนแปลง) และ Charlie มี 1 ETH ยอดคงเหลือเพิ่มจากเดิม เทคนิคนี้จะปกป้องความเป็นส่วนตัวของคนกลาง คือ […]

Continue readingMore Tag
Open post

Rust SDK ตัวแรกของโลกที่เข้ากันได้กับเครือข่ายบล็อกเชน Ethereum

ก่อนจะไปเรื่องของ Rust SDK ว่าแต่ WasmEdge คืออะไร? WasmEdge คืออะไร? WasmEdge เป็นโครงการโอเพนซอร์ซ WebAssembly Runtime ที่มีทีมดูแลโครงการ (Maintainer) โดย ParaState และ SecondState ซึ่งโฮสต์ sandbox project โดย CNCF (Cloud Native Computing Foundation) และ Linux Foundation WasmEdge มีความปลอดภัย น้ำหนักเบา และการเรียกใช้โค้ดใน sandbox และความสามารถในการปรับขนาด ในปัจจุบัน เครือข่ายบล็อกเชนที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ Etheruem และใช้ภาษาโปรแกรมเขียนโค้ดคือ Solidity ซึ่ง WasmEdge มีเป้าหมายที่จะทำลายอุปสรรคด้านภาษาของบล็อคเชนโดยการสร้าง smart contract ที่เข้ากันได้กับ EWASM/Ethereum และนักพัฒนา dApp สามารถเขียนภาษาโปรแกรมได้มากกว่า 20 ภาษา แล้ว ParaState […]

Continue readingMore Tag
Open post

ParaState โซลูชันบล็อกเชนอินทิเกรต เทคโนโลยี EWASM กับ EVM สำหรับ blockchain smart contracts ด้วยรันไทม์ WasmEdge (ชื่อเดิม SSVM)

ParaState เป็นแพลตฟอร์มสัญญาอัจฉริยะแบบ multi-chain ที่เชื่อมแอปพลิเคชัน (DeFi DAapp) บนระบบนิเวศของ Polkadot, Substrate และ Ethereum เข้าด้วยกันเพื่อให้เข้ากันได้อย่างราบรื่นกับแอปพลิเคชั่น Ethereum EVM ที่มีอยู่ทั้งหมด ร่วมถึงระบบนิเวศเชนอื่น ๆ ที่ต้องการความเข้ากันได้ ParaState โปรโตคอลพัฒนาขึ้นโดย Core team ของ Rust Foundation และพาร์เนอร์กับทีมจาก Second State ที่จะมาเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่จะอินทิเกรตเชื่อมต่อ Ethereum กับ Polkadot โดย ParaState บล็อกเชนเป็นโซลูชันอินทิเกรตสองฝั่งที่ใช้เทคโนโลยี EWASM กับ EVM บนรันไทม์ WasmEdge หรือ SSVM (Second State Virtual Machine) ซอฟต์แวร์สร้างบล็อกเชนบน Substrat ที่จะช่วยให้โครงการต่างๆ กว่า 100 โครงการที่พัฒนาสร้างด้วย Substrate framework รวมถึงสามารถใช้ประโยชน์จากบริการข […]

Continue readingMore Tag
Open post

Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นแบบองค์รวม ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับ DeFi 2.0

Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นโครงสร้างพื้นฐานแบบองค์รวมสำหรับ DeFi 2.0 และ Web3 ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่ให้ทำงานร่วมกันข้ามสายและข้ามเลเยอร์ ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับสินทรัพย์ DeFi ที่ขับเคลื่อนโดย Layer-2 Ethereum และ Polkadot ครับ DeFi Tomorrow, Today!  Cross-chain    ปัจจุบันระบบนิเวศของโปรโตคอล DeFi ยังคงเฟื่องฟู ดูได้จากการไหลของผู้ใช้และการล็อคเหรียญ (TVL) มูลค่ารวมที่สูงในแพลตฟอร์ม DeFi (Layer-2 Ethereum) ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถกู้ ยืม แลกเปลี่ยน หรือทำธุรกรรมใดๆ ได้โดยไม่ต้องให้สถาบันการเงินมาเป็นตัวกลาง แต่ปัญหาคือ ปัจจุบัน Token ไม่ได้ล็อคไว้ในโปรโตคอลเดียว (แต่สามารถใช้ภายในโปรโตคอล DeFi อื่นๆ ได้ หรือที่นิยมเรียก DeFi 2.0)ฝากหลักประกัน ในพวก Lending โปรโตคอล (Aave) แล้วนำไป – ฝาก ฯลฯ วนไป […]

Continue readingMore Tag
Open post

Qredo Network แพลตฟอร์มจัดการสินทรัพย์ดิจิทัลแบบกระจายศูนย์ (Decentralized Custody & DeFi)

Qredo Network แพลตฟอร์มจัดการสินทรัพย์ดิจิทัลแบบกระจายศูนย์ สำหรับการดูแลความปลอดภัยสินทรัพย์ดิจิทัลระดับสถาบัน Qredo Network เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยในการดูแลและรับฝากสินทรัพย์คริปโตเคอร์เรนซี (Crypto Custody Infrastructure) ที่ช่วยให้องค์กรใหม่ๆ (หรือใครก็ได้) สามารถเข้ามาลงเล่นในสนามของการดูแลและรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัลได้ (Crypto Custody)โดยที่สามารถจัดการและให้บริการดูแลและรับฝากสินทรัพย์แก่ลูกค้าของตนได้ โดยตรงโดยไม่ต้องพึ่งพาบุคคลที่สามครับ Qredo Network ใช้เทคโนโลยี Multi-party computation (MPC) MPC เป็น cryptographic tool เครื่องมือเข้ารหัสที่ช่วยให้ฝ่ายต่างๆ (ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุน) สามารถ calculation โดยใช้ข้อมูลที่รวมกันได้ โดยไม่ต้องเปิดเผยข้อมูล individual input แต่ละธุรกรรม ใครอ่านมาถึงตรงนี้จะเล่นว่ามันคล้ายๆ กับผู้เล่นรายใหญ่ในตลาดตอนนี้คือ Fireblocks (ซึ่ง SCB 10X เข้าไปลงทุนอยู่) แต่ Qredo Network เป็นองค์กรอิสระ (DAO) ที่มีการกระจายอำนาจอย่างสมบูรณ์ (ผู้ถือโทเค็น สามารถลงคะแนนเสียงในข้อเสนอการพัฒนา Qredo ได้ที่กำกับดูแลโดย Qredo ผ่าน DAO […]

Continue readingMore Tag
Open post
Ethereum-scaling-solution

เหตุใด layer-2 scaling solution จึงเป็นอาวุธลับของ Ethereum Blockchain?

จุดเกิดเหตุ: เมื่อผู้ใช้งานมีจำนวนมากบน Ethereum Blockchain สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาคือ โครงสร้างพื้นฐาน Ethereum มันไม่สามารถรองรับการทำธุรกิจกรรมที่มหาศาลได้ ทำธุรกรรมช้า บวกค่า Gas แพงโครต (เหมาะกับคนเทรดหนักๆ ใช้หลายๆ DEX พร้อมๆ กัน ^^) ประเภทของ L2 Solutions (หรือ Framework) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ On-Chain Scaling Off-Chain Scaling On-Chain Scaling กับ Off-Chain Scaling ต่างกันยังไง? On-Chain Scaling เป็นการกระจายธุรกรรมแบบขนานไปกับ Main chain โดยผู้ตรวจสอบแต่ละรายไม่ต้องดำเนินการธุรกรรมทั้งหมดจากทั้งเครือข่ายทุก Node ทั่วโลก (วิธี Sharding) Off-Chain Scaling เป็นแบบยืนยันธุรกรรมบน Mainnet Layer-1 Off-Chain แบ่งเป็น 3 แบบ State […]

Continue readingMore Tag
Open post

DeFi rebalancing protocol แยกให้ออกอะไรคือ DeFi yield อะไรคือ Rebalancing Farm

อย่าพึ่งเบื่อกันนะครับ คอนเซ็ปบล็อกนี้คือมัดรวมทุกอย่างที่คน IT ควรรู้ คำเตือน: ข้อความทั้งหมดเป็นความคิดเห็นส่วนตัวล้วนๆ นะครับ และ No advice on investment! โพสต์นี้ผมขอใช้ชื่อซีรีส์ว่า…“คลั่งรัก” กับ DeFi protocol ไขประตูหัวใจ IT สู่โลกการเงินสมัยใหม่ถ้าใครอ่านมาถึงบรรทัดนี้ ต้องกดแชร์แล้วแหละ 55++ที่แอดใช้คำว่า “คลั่งรัก” เพราะว่าคำนี้มักใช้อธิบายอาการของคนที่มีความรักในบางสิ่งบางอย่างแล้วอินสุดๆ ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่าตอนนี้ระบบการเงินบน blockchain มันมี CeFi กับ DeFi โดยผู้ใช้ (user) สามารถสร้างกระเป๋าเงิน (wallet) กี่กระเป๋าก็ได้ใน Chain แต่ละ Chain (Ethereum, BSC, Klaytn, ฯลฯ) ถ้าหากสร้างกระเป๋าบน CeFi ก็เช่น กระเป๋าเงินที่อยู่บน Exchange เช่น Satang Pro, Binance เป็นต้น ประเด็ดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ DeFi (Decentralized finance) […]

Continue readingMore Tag
Open post
KLAYswap KSP Token Economy and Governance

แกะ KLAYswap Economy และ $KSP Governance Token

บทความนี้ขอเล่าเกี่ยวกับ Governance Token และ Economy ของแพลตฟอร์ม KLAYswap ต้องออกตัวไว้ก่อนว่าบทความนี้ไม่ได้เจาะลึก ไม่ใช่การแนะนำการลงทุนใดๆ ทั้งนั้น! ปกติโดยทั่วๆ ไปแพลตฟอร์ม DeFi ต่างๆ จะออกเหรียญของแพลตฟอร์มตัวเอง (เรียก Governance Token) โดยที่มันมีคุณสมบัญ เช่น ใครถือเหรียญก็มีสิทธิ์มีเสียงในการโหวตนโยบายของแพลตฟอร์ม และให้ผลตอบแทนบางอย่าง และ KLAYswap ก็เป็นนึ่งในแพตฟอร์ม DeFi ที่มีเหรียญ Governance Token ชื่อ KSP เปรียบเสมือน “หุ้นบริษัท” แต่ไม่มีปันผลนะ! รู้จักกับ KLAYswap DeFi เจ้าใหญ่ของฝั่งเกาหลี(KLAYswap Economy และ KSP Tokenomics) KLAYswap เป็นแพลตฟอร์ม Decentralized Finance (DeFi) โปรโตคอลแบบ AMM-based swap protocol ฝั่งเชน Klaytn. KLAYswap เปิดตัวในเดือนพฤศจิกายน […]

Continue readingMore Tag

Posts navigation

1 2
Scroll to top