ในบทความนี้จะมี marketing keywords คำหลักๆ อยู่ 3 คำคือ Kubernetes Cluster, Multi-Region Kubernetes, Federation ครับ แล้ว Kubernetes Cluster คืออะไร? คือชุดของ Host container ของเราสำหรับรัน Application ซึ่งทำงานใน container เหล่านี้ครับและ Host เหล่านี้เรียกว่า Node ของ Kubernetes คลัสเตอร์ ทุกคลัสเตอร์ Kubernetes จะมีอย่างน้อย 1 Master node และ 1 Worker node โดยหน้าที่หลักของ Master node จะมีหน้าที่กำหนดกฏเกณฑ์ตั้งค่าต่างๆ ส่วน Worker node ทำหน้าที่เป็นโปรแกรมเรียกใช้ Application ใน container. Multi-Region Kubernetes กับ […]
Continue readingMore TagTag: Kubernetes
Certified containers กับ Docker containers ต่างกันอย่างไร?
ไม่ขอเกริ่นเกี่ยวกับ Docker นะครับ สำหรับการ Deploy แอปพลิเคชันสมัยใหม่แบบ Docker-based application (แบบเดิม monolithic applications) ด้วย Docker images บนตัว Docker รันไทม์หลัก ๆ แล้ว images มาจาก 3 แหล่งครับ คลัง Docker Hub registry Public registry (community images/Docker Native) และ Private registry image (Custom Docker Containers) โดยที่คลังเก็บ images บน Docker Hub registry จะแบ่งประเภทของ images ไว้ 2 ประเภทคือ Official Images เป็น Official Images ดูแลโดย Docker […]
Continue readingMore Tag11.11 Big Sale! Alibaba Cloud รองรับ 1 ล้าน Container ในเวลาเพียง 1 ชั่วโมง!
Alibaba Cloud รองรับ Auto-Scale Up 1 ล้าน Container ภายในเวลาเพียง 1 ชั่วโมง ยังไง? “เราภูมิใจเป็นอย่างมากที่ได้สนับสนุนผู้บริโภค 800 ล้านคนและร้านค้ากว่า 250,000 แบรนด์ในช่วงเทศกาลช้อปปิ้งที่ใหญ่ที่สุดในโลก” นั้นเป็นคำกล่าวของ Li Cheng ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีของ Alibaba Group. วันนี้พาไปส่องเทคโนโลยีที่อยู่เบื้องหลัง 11.11 ที่ระบบรองรับคำสั่งซื้อ 583,000 คำสั่งซื้อได้ในวินาที! เทศกาล 11.11 Alibaba Cloud สร้างสถิติใหม่ ย้อนไปปี 2009 ที่จัดเทศกาล 11.11 ขึ้นเป็นครั้งแรก ช่วงนั้นมียอดสั่งซื้อออนไลน์เพียง 400 orders ต่อวินาที และล่าสุดเทศกาล 11.11 ปี 2020 Big Sale! ที่ผ่านมา อาณาจักรอีคอมเมิร์ซในเครือ Alibaba มียอดสั่งซื้อสูงสุดถึง 583,000 รายการในเวลาเพียงวินาที! ครับ […]
Continue readingMore Tagเรื่องนี้มีแค่คุณเท่านั้นที่ได้รู้ Auto scaling กับ Predictive scaling
ถ้าจะให้พูดแบบทึ่ง ๆ ตรง ๆ เรื่องนี้โรงเรียนไม่เคยสอน หนังสืออ้างอิงก็ไม่มี เรื่องนี้มีแค่คุณเท่านั้นที่ได้รู้… Auto scaling กับ Predictive scaling รู้แล้วอย่าไปเล่าให้ใครฟังนะครัช 55++ เมื่อ 10ปี ก่อนเรื่องนี้โรงเรียนไม่มีสอนเพราะ Predictive scaling เป็นแนวคิดใหม่การทำ Auto scalingเข้าประเด็นแบบไม่มีปี่มีขลุ่ยเลยละกันครัช Auto-scaling กับ Predictive scaling Auto Scalable เป็นคอนเซปต์การปรับขนาดโดยอัตโนมัติเดิมทีการสร้างแผนการปรับขนาดแบบดั่งเดิมผู้ดูแลระบบจะกำหนดค่าด้วยออปชัน เช่น Schedule หรือ Usage-Based Rules ด้วย System metrics ซึ่งเป็นตัวชี้วัดเพื่อมอนิเตอร์การปรับขนาดเพิ่มขึ้น/ลดลงอัตโนมัติ. การทำ Auto Scaling ก็เพื่อรักษาประสิทธิภาพการทำงานของแอปพลิเคชันและเซิร์ฟเวอร์ให้มีเสถีรยภาพ(ไม่ให้ระบบล่ม) คงประสิทธิภาพการทำงานนั้นเอง Auto scaling แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ ฝั่ง Workload การปรับขนาดแอปพลิเคชันของคุณโดยอัตโนมัติในเวลาที่ใช้ โดยการเพิ่มจำนวนของ Pod และ schedule ไปยัง […]
Continue readingMore TagIngress ไม่ใช่ NAT! แต่เป็นนิยามใหม่ของ Forward port และ Load Balance ที่ยืดหยุ่นที่สุด!
Ingress คืออะไร? Ingress ชื่อเรียกการออกแบบสถาปัตยกรรมที่ช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงเว็บแอปพลิเคชันของเราโดยใช้เพียง URL ชื่อเดียวโดยวิธีการคอนฟิกไฟล์ กำหนดเส้นทางการรับส่งข้อมูลไปยัง service ต่าง ๆ ในคลัสเตอร์หากเป็น Google Cloud จะเรียก Ingress เซอร์วิสบริการนี้ว่า LoadBalancer (GKE Ingress for HTTP(S) Load Balancing) เมื่อคุณสร้างคลัสเตอร์บน GKE ระบบจะสร้าง ingress-service ขึ้นมาให้ เช่นถ้า Deploy เว็บ WordPress แอปพลิเคชัน เจ้า GKE (Kubernetes) ก็จะสร้าง ingress-space ใน Deployment เช่น nginx-ingress-controller เป็นต้น หากกรณี Deploy จาก Marketplace บน Google Cloud คุณมีหน้าที่เพียงกำหนดค่า Replicas ที่อยู่ในส่วนของ Deployment อธิบายเพิ่มเติมคือ […]
Continue readingMore Tagรู้จักกับ Jelastic Multi-Cloud DevOps PaaS
ในตลาดตอนนี้ ถ้าไม่พูดถึง Containers และ Kubernetes และ Virtualization คงไม่ได้ ในบทความก่อนหน้านี้แอดได้นำเสนอแนวคิดของ Jelastic ไปแล้ว และคำจำกัดความของคำว่า Platform-as-Infrastructure มันคือ market positioning of the company ในทางการตลาดของบริษัท Jelastic ครับ บทความนี้เรามาสนใจสถาปัตยกรรมระบบ Jelastic และโซลูชัน Jelastic สำหรับแอปพลิเคชันกันดีกว่าครับ Jelastic ระบบที่ออกแบบมาให้จัดการง่ายบน private, public และ hybrid cloud อีกทั้งยังคงความยืดหยุ่นในการปรับแต่งโครงสร้างพื้นฐานและการกำหนดค่าแอปพลิเคชัน Jelastic เป็นแพลตฟอร์มแบบเปิดที่รองรับการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันโปรแกรมหลายภาษา เช่น Java, PHP และ Ruby, Node.js, Python, .Net เทคโนโลยี Containers และ Kubernetes สถาปัตยกรรม Jelastic ประกอบด้วยอะไรบ้าง? Jelastic architecture ถูกออกแบบบนโมดูลซอฟต์แวร์ระบบระดับสูง […]
Continue readingMore TagKubernetes ไม่ใช่โซลูชัน IaaS หรือ PaaS แต่ Kubernetes is an API driven ที่เป็นแพลตฟอร์มโอเพ่นซอร์ส
Kubernetes ไม่ใช่โซลูชัน IaaS หรือ PaaSแต่ Kubernetes is an API driven ที่เป็นแพลตฟอร์มโอเพ่นซอร์ส แม้ว่าเทคโนโลยี Kubernetes จะเข้าอำนวยความสะดวกให้กับนักพัฒนาแอปพลิเคชั่น หรือทุกสิ่งอย่างบนแพลตฟอร์ม (PaaS) แต่ Kubernetes ก็ทำงานบนเลเยอร์ที่อยู่เหนือโครงสร้างพื้นฐาน (physical infrastructure) ดังนั้น Kubernetes จึงถูกจัดเตรียมให้โดยผู้ให้บริการคลาวด์บน ecosystem ของ service provider environment บริการ IaaS และ PaaS เช่น AWS, Azure, GCP และ IBM Cloud ครับ Kubernetes จึงเป็นเทคโนโลยีที่จัดเตรียมองค์ประกอบพื้นฐานของแพลตฟอร์มสำหรับนักพัฒนาซอฟต์แวร์สมัยใหม่ทำงานรวมกับเทคโนโลยี Containers ที่ปฏิวัติวิธีที่เราพัฒนาแอปพลิเคชันแบ่งเป็นเซอร์วิสแยกย่อน (microservices) แต่แน่นอนความมันก็ยังมีความเห็นต่างระหว่าง Performance กับ Security ในเรื่องความปลอดภัยและประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันที่เป็นคอนเทนเนอร์ (หลัก ๆ ก็เป็น open-source) […]
Continue readingMore Tagเมื่อผู้ใหญ่โตมากับ Bare Metal แต่คนรุ่นใหม่มาพร้อมกับ Kubernetes
เมื่อผู้ใหญ่โตมากับ “Bare Metal ” แต่คนรุ่นใหม่มาพร้อมกับ “Kubernetes” และอาจกลายเป็นอดีตในยุคถัดไป 🧬 0. Bare Metal ใครที่อยู่ในยุคนี้จะรู้ดีว่าคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่องสามารถติดตั้งโปรแกรมกี่โปรแกรมก็ได้ อาทิ เช่น MS Office 2000, 2003, ฯลฯ จะรันกี่โปรแกรมก็ได้ เช่น IE, Firefox (App) สำคัญอยู่อย่างเดียวคือ พวก Libraries ดอท.dll หรือดอท .so ต้องไม่ตีกัน (Conflict) พอห้ามตีกันได้ก็คอมไพล์เอง ชี้พาทใหม่ 😅 คำว่า App Server ก็เกิดช่วงนี้แหละเครื่องที่รันแค่ App เดียว เรียกสั้น ๆ ว่า “App Server”เรียกยาว ๆ ว่า “Application Server” 1. Virtualization ยุคนี้เริ่มเป็นคนใหญ่คนโตในองค์กรกันแล้ว 55++เทคโนโลยี Virtualization มาพร้อมกับเซิร์ฟเวอร์หนึ่งเครื่อง ที่ซอยจำลองออกเป็นเครื่องย่อย […]
Continue readingMore Tagรู้จักกับ WAZUH ฟรี cybersecurity software ที่รองรับ Kubernetes
ถ้าคุณมองว่า Linux เป็นระบบปฏิบัติการ open-source ที่มีความปลอดภัย โพสนี้หากจะเสียเวลาอ่านก็คุ้ม!! แต่ถ้าคุณกำลังมีประเด็นเกี่ยวกับคำว่า“open source” หรือคำว่า “ฟรี”อย่าเสียเวลาอ่านเลยครับ 555+++ ( เข้าประเด็นเถอะแอด 😅 ) วันนี้แอดจะพาไปรู้จักกับซอฟร์แวร์ Wazuh ที่เป็นเครื่องมือ IDS/IPS แบบ open-source เป็นแพลตฟอร์มด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ จาก Silicon Valley เล่ ๆๆๆๆ 😄📣สำหรับใช้ตรวจจับและเฝ้าระวังภัยคุกคามรูปแบบต่าง ๆ Wazuh โปรเจคที่พัฒนาขึ้นจากชุมชน communityที่ปัจจุบันมีการใช้งานมากกว่า 10,000 บริษัท (บางบริษัอยู่ใน Fortune 100) Wazuh เป็นแพลตฟอร์มซอฟต์แวร์ open-source ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ มันก็คือเครื่องมือด้าน IDS/IPS แบบ open-source นั้นเองครับ ความดีงามของเจ้า Wazuh คือมันเป็น Endpoint Security ในรูปของ Network-based IDS/IPS หรือ Host-based IDS/IPS ที่มีการติดตั้งที่เครื่องปลายทาง(บนคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้แต่ละคน) รองรับการติดตั้งทั้ง […]
Continue readingMore Tagถ้าไม่มี Linux อาจจะไม่มี Container
ถ้าไม่มี Linux อาจจะไม่มี Containerแล้วมันเกี่ยวอะไรกับ OpenStack ? (คำเตือน! เนื้อหายาววว ขอคารวะคนอ่านจบ)ซอยถี่ๆมาแล้วอ่านจบกดแชร์ไปให้เพื่อนรักครับ 🙏 โพสนี้แอดอยากชวนเล่า/อ่านเรื่องราวของคอนเทนเนอร์หลาย ๆ คนแอดเชื่อว่านรู้จักดีอยู่แล้วพร้อมใช้งานอยู่แล้วแต่ก็อยากบังคับอ่าน 😄 โพสนี้แอดจะลากแฟนคลับเพจซูเซ่แมนเราไปรู้จักการเทคโนโลยีคอนเทนเนอร์… จริง ๆ เทคโนโลยีคอนเทนเนอร์มีมานานแล้วครับสำหรับผู้ใช้ Linux น่าจะรู้จักกับ “LXC” ซึ่งเป็นเทคโนโลยี virtualization ในระดับระบบปฏิบัติการ(operating-system-level) ครับ ^^ หรือหลาย ๆ คนน่าจะคุ้น ๆ กับซอฟต์แวร์อย่าง OpenVZมันเป็นซอฟต์แวร์ container-based ที่เป็น virtualizationที่ติดตั้งบนลีนุกซ์ หากกล่าวถึงบริการโฮสติ้ง VPS(หรือบริการ Vitural Private Server)ใครเขาก็ใช้ OpenVZ นี่แหละครับ OpenVZ ไม่ใช่ KVM หรือ Xen แต่อย่างใด !! OpenVZ เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้รันซอฟต์แวร์แอพพลิเคชั้นระบบ container แต่ KVM หรือ Zen […]
Continue readingMore Tag