ก่อนอื่นเราไปทำความรู้จักกับเจ้า Apache Guacamole กันก่อนมันคืออะไร? Apache Guacamole (กัวคาโมเล) เป็นซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์สเว็บเกตเวย์สำหรับรีโมท เพื่อให้ไคลเอ็นต์สามารถเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์จากระยะไกลได้ ผ่านเว็บเบราว์เซอร์ที่รองรับ HTML5 เช่น Mozila Firefox, Google Chrome หรือ Safari โดยใช้โปรโตคอล เช่น SSH, VNC, RDP และมีระบบยืนยันตัวตนสองชั้น (OTP) หากใครยังนึกภาพไม่ออกว่าจะเอา Apache Guacamole มาอิมพลีเม้นท์หรือเป็น Solution ทางเลือกท่าไหนได้บ้าง ใช้ประโยชน์อย่างไร ผู้เขียนจะเกริ่นเล่าให้ฟัง… โดยปกติในองค์กรหรือหน่วยงานที่กำลังมองหา Remote App ที่จะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถทำงานจากที่ไหนก็ได้ เช่น รีโมทมาใช้ Application ระบบบัญชี (ERP) หรือใช้ทรัพยากรร่วมกัน (File Server) บนระบบปฏิบัติการ Windows server ถ้าเป็นท่านี้ผู้ดูแลระบบก็เพียงหาซอฟต์แวร์ Remote Desktop มาติดตั้ง หรือติดตั้งเซอร์วิส Remote Desktop […]
Continue readingTag: Linux
Linux OOM (Out of Memory) ความจำเต็ม!!! หน่วยความจำไม่เพียงพอ
แน่นอนครับว่าการจัดการหน่วยความจำใน Linux เป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจครับ ออกแบบระบบยังไง? ให้แอพพลิเคชั่นกินแรม แล้วต่อด้วยกิน swap 555+++ ก็แค่ Firefox processes รัน 1,000 กว่า pid. เริ่มด้วยคำสั่งที่เรามักใช้กันบ่อยๆ นึกอะไรไม่ออกก็ ps, top, free โลดเช่น ดูหน่วยความจำว่าอะไรใช้อยู่บ้าง ผู้เขียนขอแบ่งปันประสบการณ์และความรู้จากการใช้ Firefox browser แอปพลิเคชันที่ทำงานใน userspace เคอร์เนล (user profiles) ที่ต้องใช้หน่วยความจำสำหรับตัวมันเอง สำหรับผู้ใช้จำนวนมากบนเซิร์ฟเวอร์เครื่องเดียว (Linux Terminal Deskop) แต่เมื่อทรัพยากรหมดเกี้ลง (แรมระบบเหลือน้อย) ระบบจะ้ช้า เว้นแต่ user logout ระบบ Linux ถึงจะกู้คืนหน่วยความจำจากสภาวะ OOM (Out of Memory) อธิบายการทำงานคือ แอพพลิเคชั่นจะต้องขอให้เคอร์เนลจัดสรรหน่วยความจำเพิ่มเติมให้แต่ถ้าดูจากรูป ไม่มีหน่วยความจำว่าง ทำให้กระบวนการทำงานช้าลง เช่น กด save […]
Continue readingฟรี eBook: สำหรับปูพื้นฐาน Linux ถึงระดับ Advanced
เว็บไซต์ Packt, Linux Training Academy, How-To Geek และ MakeUseOf ร่วมกับ TradePub.com เปิดให้ผู้ที่สนใจดาวน์โหลด eBook เรื่อง Mastering Linux Security and Hardening – Second Edition ปี 2020 ได้ฟรี แบบ FREE for a Limited Time! และได้สรรหามาให้เพิ่มอีก 6 เรื่องครับ ประกอบด้วย [1] eBook: Essential Linux Toolkit [2] eBook: Linux Command Line Cheat Sheet [3] eBook: Linux ip Command Networking Cheat Sheet [4] eBook: Linux […]
Continue readingเมื่อ Cloud เพียงแบบเดียว ไม่อาจตอบโจทย์ธุรกิจองค์กรอีกต่อไป
## เมื่อ Cloud เพียงแบบเดียวไม่อาจตอบโจทย์ ##ยุคถัดไปต้องเรียบง่าย, ทันสมัยและเร่งความเร็ว SUSE บริษัทเจ้าของลีนุกซ์ดิสโทร SUSE ประกาศความพร้อมให้บริการโซลูชันระบบ SUSE HAE บน Google Cloud Platform (GCP) และนั้นก็เท่ากับว่า… องค์กรสามารถเปลี่ยนระบบ High Availability ที่ติดตั้งบน on-premises ย้ายขึ้น Cloud ให้กลายเป็น High Availability บน Public Cloud ได้เลย อย่างที่เราทราบกันครับทุกวันนี้หลาย ๆ องค์กรเองก็ได้เริ่มใช้ Cloud ในการดำเนินธุรกิจอย่างจริงจังแล้ว แต่ Cloud ที่องค์กรส่วนใหญ่ใช้ยังเป็น Private Cloud ที่ขับเคลื่อนด้วย OpenStack ที่โด่งดัง ซึ่ง SUSE ได้นำ OpenStack ที่เป็นระบบ Open Source Cloud มาพัฒนาต่อยอดกลายเป็นแบรน์ด SUSE OpenStack […]
Continue readingเปิดคลังแสง SUSE ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ที่ถูกนำไปใช้ในกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ
##เปิดคลังแสง ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ที่ถูกนำไปใช้ในกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ##.ใครพึ่งรู้จัก SUSE Linux จากโพสนี้ของหัวใจหน่อยคร้าบบ… SUSE นั้นเป็นหนึ่งในบริษัทที่ดำเนินการด้านโอเพ่นซอฟร์สที่เก่าแก่มากที่สุด! แห่งหนึ่ง แอดว่าอาจจะเป็นบริษัทแรกด้วยซ้ำที่ให้บริการซูโลชั่นระบบลีนุกซ์ในระดับ enterprise-class ให้แก่กลุ่มธุรกิจด้านธนาคาร, มหาวิทยาลัย และหน่วยงานรัฐต่าง ๆ ทั่วโลก. และในเวลาถัดมาก็ได้ขยับขยายเข้าสู่ตลาด commercial อย่างเต็มกำลัง (แบบเดียวกับลินุกซ์ดิสโทรเรดแฮต Red Hat Enterprise) เล่าย้อนไปปี 2004 …ซูเซ่ ลีนุกซ์ ถูกจัดเป็นระบบปฏิบัติการลีกซ์ดิสโทรแรกที่ได้รับการรับรองจากรัฐบาลกลางสหรัฐฯว่าเป็นระบบที่มีศักยภาพ (ตอนนนั้นแห่งข่าวเทียบกับระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) ของบริษัทไมโครซอฟท์ 555+++(Microsoft Corp) ^^! และนั้นก็ถือเป็นก้าวแรกที่ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ถูกนำไปใช้ในหน่วงงานสหรัฐฯ ในเวลาถัดมา SUSE Linux ในภาษาเยอรมันอ่านออกเสียงว่า “ซูเซ ลีนุกส์”เป็นระบบปฎิบัติการลีนุกส์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์(Desktop/Server)โดยสร้างขึ้นมาจากโอเพนซอร์สลินุกส์เคอร์เนล และใช้ซอฟต์แวร์แอพลิเคชันจากโครงการโอเพนซอร์ส มีชื่อเดิมว่า SuSE ตัวย่อมาจากภาษาเยอรมันคือคำว่า “Software Und System-Entwicklung”ความหมายเดียวกับSoftware and systems development ครับ จากนั้นในเดือนตุลาคม ปี 1998ได้เปลี่ยนมาเรียกว่า SuSE แทน […]
Continue readingจะเกิดอะไรขึ้น…ถ้ายูสเซอร์ทุกคนสามารถ พิมพ์คำสั่ง sudo กด ↵ Ente ได้
หลังกด ↵ Enter จะเข้าสู่ root ทันที! โดยไม่ถามรหัสผ่านแล้ว “sudo su” มีไว้ทำไร? คำสั่ง sudo (super user do)หากว่าเราจำเป็นที่จะต้องเข้าไปจัดการแก้ไขไฟล์และโฟลเดอร์ต่าง ๆ ของระบบหรือจำเป็นต้อง อัพเดต, แพตช์,ติดตั้งโปรแกรมใหม่ ๆเราจะต้องขอใช้สิทธิ์ของ superuserโดยให้พิมพ์คำสั่ง sudo นำหน้าคำสั่งต่าง ๆ ครับ (อย่าริหาญกล้า พิมพ์แป้นไทยเด็ดขาด! เติมไม้โท 55+++) 😄 เช่น รันคำสั่ง ifconfig เพื่อตรวจสอบ interface ดู IP address เมื่อคุณพิพม์คำสั่ง sudo นำหน้าคำสั่งต่าง ๆจะทำให้เรามีสิทธิ์เท่ากับยูสเซอร์ในระดับ root ถึงแม้ว่าจะล็อกอิน ผ่านยูสเซอร์ธรรมดาก็ตามครับ เดี๋ยววววว อ้าว!คนที่อ่านมาถึงตรงนี้ก็อาจจะสงสัยว่า… ถ้ายูสเซอร์ทุกคนสามารถพิมพ์คำสั่ง sudo ได้ก็หมายความว่าความปลอดภัยของระบบก็ไม่มี! 😀เพราะทุกคนก็สามารถใช้สิทธิ์ root ยูสเซอร์โดยแค่พิมพ์ sudo นำหน้าคำสั่งได้ 555+++ […]
Continue readingถ้าไม่มี Linux อาจจะไม่มี Container
ถ้าไม่มี Linux อาจจะไม่มี Containerแล้วมันเกี่ยวอะไรกับ OpenStack ? (คำเตือน! เนื้อหายาววว ขอคารวะคนอ่านจบ)ซอยถี่ๆมาแล้วอ่านจบกดแชร์ไปให้เพื่อนรักครับ 🙏 โพสนี้แอดอยากชวนเล่า/อ่านเรื่องราวของคอนเทนเนอร์หลาย ๆ คนแอดเชื่อว่านรู้จักดีอยู่แล้วพร้อมใช้งานอยู่แล้วแต่ก็อยากบังคับอ่าน 😄 โพสนี้แอดจะลากแฟนคลับเพจซูเซ่แมนเราไปรู้จักการเทคโนโลยีคอนเทนเนอร์… จริง ๆ เทคโนโลยีคอนเทนเนอร์มีมานานแล้วครับสำหรับผู้ใช้ Linux น่าจะรู้จักกับ “LXC” ซึ่งเป็นเทคโนโลยี virtualization ในระดับระบบปฏิบัติการ(operating-system-level) ครับ ^^ หรือหลาย ๆ คนน่าจะคุ้น ๆ กับซอฟต์แวร์อย่าง OpenVZมันเป็นซอฟต์แวร์ container-based ที่เป็น virtualizationที่ติดตั้งบนลีนุกซ์ หากกล่าวถึงบริการโฮสติ้ง VPS(หรือบริการ Vitural Private Server)ใครเขาก็ใช้ OpenVZ นี่แหละครับ OpenVZ ไม่ใช่ KVM หรือ Xen แต่อย่างใด !! OpenVZ เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้รันซอฟต์แวร์แอพพลิเคชั้นระบบ container แต่ KVM หรือ Zen […]
Continue reading