Open post

เจาะลึก Maverick Protocol ($MAV) โมเดล AMM ใหม่ Unlocking Capital Efficiency

Maverick Protocol (MAV) ซึ่งเป็นโมเดล AMM ใหม่ที่เคลมว่าจะปลดล็อกประสิทธิภาพด้านเงินทุนที่ประสิทธิภาพสูงที่สุดในตลาด เพิ่มประสิทธิภาพของเงินทุนให้สูงสุดโดยการทำให้ capital efficiency ของสภาพคล่องเป็นไปโดยอัตโนมัติเมื่อราคาผันผวน นั้นหมายความว่าผู้ให้บริการสภาพคล่องสามารถกำหนดทิศทางราคาลงในพูลสภาพคล่องของตนได้ครับ (Dynamic Distribution AMM) Maverick is the first Dynamic Distribution AMM model. Maverick Protocol is a next-generation DeFi infrastructure provider focused on increasing industry efficiency, live on Ethereum and zkSync Era to maximize capital efficiency by Automated Liquidity Placement (ALP) in a decentralized way. Maverick […]

Continue reading
Open post

Rust SDK ตัวแรกของโลกที่เข้ากันได้กับเครือข่ายบล็อกเชน Ethereum

ก่อนจะไปเรื่องของ Rust SDK ว่าแต่ WasmEdge คืออะไร? WasmEdge คืออะไร? WasmEdge เป็นโครงการโอเพนซอร์ซ WebAssembly Runtime ที่มีทีมดูแลโครงการ (Maintainer) โดย ParaState และ SecondState ซึ่งโฮสต์ sandbox project โดย CNCF (Cloud Native Computing Foundation) และ Linux Foundation WasmEdge มีความปลอดภัย น้ำหนักเบา และการเรียกใช้โค้ดใน sandbox และความสามารถในการปรับขนาด ในปัจจุบัน เครือข่ายบล็อกเชนที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ Etheruem และใช้ภาษาโปรแกรมเขียนโค้ดคือ Solidity ซึ่ง WasmEdge มีเป้าหมายที่จะทำลายอุปสรรคด้านภาษาของบล็อคเชนโดยการสร้าง smart contract ที่เข้ากันได้กับ EWASM/Ethereum และนักพัฒนา dApp สามารถเขียนภาษาโปรแกรมได้มากกว่า 20 ภาษา แล้ว ParaState […]

Continue reading
Open post

Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นแบบองค์รวม ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับ DeFi 2.0

Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นโครงสร้างพื้นฐานแบบองค์รวมสำหรับ DeFi 2.0 และ Web3 ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่ให้ทำงานร่วมกันข้ามสายและข้ามเลเยอร์ ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับสินทรัพย์ DeFi ที่ขับเคลื่อนโดย Layer-2 Ethereum และ Polkadot ครับ DeFi Tomorrow, Today!  Cross-chain    ปัจจุบันระบบนิเวศของโปรโตคอล DeFi ยังคงเฟื่องฟู ดูได้จากการไหลของผู้ใช้และการล็อคเหรียญ (TVL) มูลค่ารวมที่สูงในแพลตฟอร์ม DeFi (Layer-2 Ethereum) ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถกู้ ยืม แลกเปลี่ยน หรือทำธุรกรรมใดๆ ได้โดยไม่ต้องให้สถาบันการเงินมาเป็นตัวกลาง แต่ปัญหาคือ ปัจจุบัน Token ไม่ได้ล็อคไว้ในโปรโตคอลเดียว (แต่สามารถใช้ภายในโปรโตคอล DeFi อื่นๆ ได้ หรือที่นิยมเรียก DeFi 2.0)ฝากหลักประกัน ในพวก Lending โปรโตคอล (Aave) แล้วนำไป – ฝาก ฯลฯ วนไป […]

Continue reading
Open post

Orchid แพลตฟอร์ม VPN แบบกระจายอำนาจที่สร้างขึ้นบนบล็อกเชน Ethereum (ที่จะมาแทน VPN แบบดั่งเดิม)

Orchid VPN แบบกระกายศุนย์ หรือ Decentralized virtual private network (เครือข่ายส่วนตัวเสมือนที่สื่อสารแบบไม่เปิดเผยตัวตน) ใครยังจำเรื่องราวเกี่ยวกับ Hidemyass ผู้ให้บริการ VPN ที่ส่งมอบข้อมูลผู้ใช้ให้กับทางการสหรัฐฯ และอีกหนึ่งกรณีที่ NordVPN ผู้ให้บริการ VPN ระดับโลก ถูก hacked หรือว่าบริการ VPN แบบกระกายศุนย์อาจไม่ปลอดภัย? ก่อนจะเข้าเรื่องผู้เขียนขอเกรินอธิบาย VPN ง่ายๆ สั้นก่อนจะไปสู่ A new model of VPN ปัจจุบันบริการ VPN เป็นแบบรวมศูนย์ ให้บริการเชื่อมต่อ VPN ที่ถูกเข้ารหัสด้วยโปรโตคอล เช่น openVPN, WireGuard หรือ PPTP, L2TP over IPsec หรือโปรแกรมอื่นๆ (ที่เราต้องใช้โปรแกรมไคลเอ็นต์เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ VPN) ส่วนผุ้ใช้อย่างเราๆ ก็จ่ายค่าบริการ VPN เป็นแบบรายเดือน (ยังไม่มีจ่ายตามใช้งานจริง) เวลาใช้งานหากเซิร์ฟเวอร์ VPN […]

Continue reading
Open post
Ethereum-scaling-solution

เหตุใด layer-2 scaling solution จึงเป็นอาวุธลับของ Ethereum Blockchain?

จุดเกิดเหตุ: เมื่อผู้ใช้งานมีจำนวนมากบน Ethereum Blockchain สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาคือ โครงสร้างพื้นฐาน Ethereum มันไม่สามารถรองรับการทำธุรกิจกรรมที่มหาศาลได้ ทำธุรกรรมช้า บวกค่า Gas แพงโครต (เหมาะกับคนเทรดหนักๆ ใช้หลายๆ DEX พร้อมๆ กัน ^^) ประเภทของ L2 Solutions (หรือ Framework) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ On-Chain Scaling Off-Chain Scaling On-Chain Scaling กับ Off-Chain Scaling ต่างกันยังไง? On-Chain Scaling เป็นการกระจายธุรกรรมแบบขนานไปกับ Main chain โดยผู้ตรวจสอบแต่ละรายไม่ต้องดำเนินการธุรกรรมทั้งหมดจากทั้งเครือข่ายทุก Node ทั่วโลก (วิธี Sharding) Off-Chain Scaling เป็นแบบยืนยันธุรกรรมบน Mainnet Layer-1 Off-Chain แบ่งเป็น 3 แบบ State […]

Continue reading
Open post

Web3 browsers กับ Ethereum

การเข้าสู่ Web 3.0 เราอาจได้เห็นการแก้ไขปัญหาระบบเดิมและเพิ่มประสิทธิภาพในเว็บแอปพลิเคชัน และหนึ่งในประเด็นที่เราถกกันคคือ สถาปัตยกรรมแบบการกระจายศูนย์บนแพลตฟอร์มแบบเปิด บนระบบจัดการเว็บไซต์ด้วยเครือข่ายแบบ Peer-to-Peer หรือ Decentralized Architecture ครับ.แอพพลิเคชันยุค Web 3.0 จะจัดเก็บข้อมูลแบบกระจายไปยังเซิร์ฟเวอร์ต่าง ๆ มากมายมหาศาลที่เชื่อมเข้าไว้ด้วยกัน มากกว่าเซิร์ฟเวอร์แบบรวมศูนย์ดังเดิม (Node) และนี่ก็เป็นที่ว่าวลีที่ประฌามระบบศูนย์กลางว่าเป็น “ตราบาป แห่งอินเทอร์เน็ต” (*แอดไม่ได้เป็นคนกล่าวน่า 555++) กล่าวโดย Brian Behlendorf ผู้ร่วมก่อตั้ง Apache Web Server ที่ตอนนี้ขยับมาสนใจ Blockchain technology และ cryptocurrency Web3 browsers กับ Ethereum Ethereum คือหนึ่งในเทคโนโลยีที่ใช้ระบบกระจาย Node ใช้หลักการเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) ที่เป็นโมเดลการกระจายศูนย์แบบจุด (Node) โดยที่ Node ต่างๆ จะถูกติดตั้งและเปิดให้ทำงานโดยอาสาสมัครจากทั่วโลกแทนที่จะเช่าเซิร์ฟเวอร์และคลาวด์แบบเดิมครับ. *คล้าย BitTorrent file sharing […]

Continue reading
Open post

hCaptcha คอนเซปต์ใหม่ทำงานบน Ethereum blockchain

hCaptcha คอนเซปต์ใหม่ทำงานบน Ethereum blockchain เพื่อป้องกันบอทและสแปม หลายคนน่าจะคุ้นเคยกับการใช้ reCAPTCHAที่เวลาเราจะล็อกอินแล้วต้องจิ๊บๆ รูปหมาแมว สัญญาณไฟจราจร นั้นแหละครับ hCaptcha แตกต่างกับ reCAPTCHA อย่างไร? reCAPTCHA เป็นระบบพิสูจน์ความเป็นมนุษย์เพื่อป้องกันบอทและสแปมreCAPTCHA โดย Google เวอร์ชั่นล่าสุด (reCAPTCHA v.3) ได้มีการใช้รูปแบบเก็บคะแนนเพื่อระบุพฤติกรรมที่น่าสงสัย ทำให้ reCAPTCHA ไม่แสดงบ่อย และมีออปชั่น Invisibled เลยไม่รบกวนผู้ใช้อีกต่อไป (หากผู้เยี่ยมชมมาจากไอพีชุดใหม่ก็ถามนะ) ทำไมต้องใช้ hCaptcha เพื่อป้องกันบอท? สำหรับคนทำเว็บแอปพลิเคชัน reCAPTCHA เป็นหนึ่งในตัวเลือกเพื่อป้องกันบอทที่มาคอมเม้นท์ มาลงทะเบียน ซึ่งข้อมูลที่ Submit มาสร้างความลำคานให้เจ้าของเว็บไซต์เป็นอย่างมาก hCaptcha คืออะไร? hCaptcha เป็น HUMAN โปรโตคอลที่ทำงานบน Ethereum blockchain (open decentralized protocol) เน้นความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยเพื่อปกป้องความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้และ hCaptcha ยังรองรับการทำงานผ่าน API  ตัว […]

Continue reading
Scroll to top