บทความนี้ขอเล่าเกี่ยวกับ Governance Token และ Economy ของแพลตฟอร์ม KLAYswap ต้องออกตัวไว้ก่อนว่าบทความนี้ไม่ได้เจาะลึก ไม่ใช่การแนะนำการลงทุนใดๆ ทั้งนั้น! ปกติโดยทั่วๆ ไปแพลตฟอร์ม DeFi ต่างๆ จะออกเหรียญของแพลตฟอร์มตัวเอง (เรียก Governance Token) โดยที่มันมีคุณสมบัญ เช่น ใครถือเหรียญก็มีสิทธิ์มีเสียงในการโหวตนโยบายของแพลตฟอร์ม และให้ผลตอบแทนบางอย่าง และ KLAYswap ก็เป็นนึ่งในแพตฟอร์ม DeFi ที่มีเหรียญ Governance Token ชื่อ KSP เปรียบเสมือน “หุ้นบริษัท” แต่ไม่มีปันผลนะ! รู้จักกับ KLAYswap DeFi เจ้าใหญ่ของฝั่งเกาหลี(KLAYswap Economy และ KSP Tokenomics) KLAYswap เป็นแพลตฟอร์ม Decentralized Finance (DeFi) โปรโตคอลแบบ AMM-based swap protocol ฝั่งเชน Klaytn. KLAYswap เปิดตัวในเดือนพฤศจิกายน […]
Continue readingMore TagTag: KLAYswap
เล่าให้ฟัง KLAY, KLAYswap Protocol, KAI Protocol, AMM protocol โลกของ Klaytn DeFi
โพสต์บันทึกส่วนตัวผู้เขียน ขอเกริ่นปูพื้นกระบวนการอุปทานของ “เงิน” ในโลกที่เราจิบจับเงินได้จริงๆ กันก่อนนะครับ กระบวนการอุปทานของ “เงิน” คือ การควบคุมฐานเงิน, การสร้างเงินผ่านระบบธนาคาร, ตัวทวีคูณทางการเงิน และปัจจัยที่กำหนดปริมาณเงิน มีผู้เล่นหลัก 3 ราย ที่มีส่วนในกระบวนการอุปทานของเงิน ได้แก่ ธนาคารกลาง (เป็นผู้มีความสำคัญมากที่สุด) ธนาคารพาณิชย์ หรือสถาบันรับฝากเงิน และผู้ฝากเงิน หน้าที่ของ ธนาคารพาณิชย์ หรือสถาบัน คือ? ทำหน้าที่เป็นคนกลางส่งผ่านเงินทุนจากผู้ออม (ฝากเงิน) ไปยังผู้ต้องการเงินทุน หรืออีกนัยหนึ่งธนาคารทำหน้าที่รับฝากเงินและปล่อยกู้ให้แก่หน่วยธุรกิจในระบบเศรษฐกิจนั้นเองครับ DeFi (Decentralized Finance) มาเพื่อตัดตัวกลางทางการเงินออกและเศรษฐศาสตร์ทางการเงินแห่งอนาคต แล้ว KLAY blockchain คืออะไร? Klayn blockchain เป็น public blockchain (enterprise-grade blockchain) สัญชาติเกาหลีที่สร้างขึ้นโดยบริษัท GroundX มีเหรียญชื่อ KLAY เป็นเหรียญ Native Token ของตนเองที่ใช้ใน ecosystem Klayn Network […]
Continue readingMore Tagรู้จักกับ Kai Protocol โปรโตคอล เหรียญ Stable Coin บน Klaytn Network
สำหรับโพสต์บทความนี้จะพาไปรูัจักกับ Stablecoin ที่ถือว่าเป็นกลไกสำคัญของ Defi ecosystem และผู้เขียนจะแนะนำให้รู้จัก Kai Protocol ที่เรียกได้ว่าเป็น next-generation cross-chain บน Kalyt Network Blockchain แห่งเกาหลีโดยโทเคนชื่อ KLAY และรักษาความเสถียรของเครือข่ายโดยมีกลไกที่เรียกว่า Proof of Contribution (PoC) และ Klaytn Improvement Reserve (KIR) ที่ประเมินความโปร่งใสและกลไกสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใช้ระบบครับ อย่างที่เราทราบกันว่าโลกของการเงินดิจิทัล โลกของคริปโทเคอร์เรนซี ปัจจุบันเราสามารถแบ่ง Stable coins ออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. Fiat backed-Stable coin (Fiat-Collateralized) คือ เหรียญ Stablecoin ที่ผูกมูลค่าเข้ากับสินทรัพย์ในอัตรา 1:1 และเหรียญคริปโทที่ได้รับความนิยมอย่างมากคือ USDT ที่ออกโดยบริษัท Tether ฮ่องกงสร้างโดยใช้กลไกรักษามูลค่าผูกกับ Fiat Currency อย่างสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) […]
Continue readingMore Tag