Open post

DeFi rebalancing protocol แยกให้ออกอะไรคือ DeFi yield อะไรคือ Rebalancing Farm

อย่าพึ่งเบื่อกันนะครับ คอนเซ็ปบล็อกนี้คือมัดรวมทุกอย่างที่คน IT ควรรู้ คำเตือน: ข้อความทั้งหมดเป็นความคิดเห็นส่วนตัวล้วนๆ นะครับ และ No advice on investment! โพสต์นี้ผมขอใช้ชื่อซีรีส์ว่า…“คลั่งรัก” กับ DeFi protocol ไขประตูหัวใจ IT สู่โลกการเงินสมัยใหม่ถ้าใครอ่านมาถึงบรรทัดนี้ ต้องกดแชร์แล้วแหละ 55++ที่แอดใช้คำว่า “คลั่งรัก” เพราะว่าคำนี้มักใช้อธิบายอาการของคนที่มีความรักในบางสิ่งบางอย่างแล้วอินสุดๆ ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่าตอนนี้ระบบการเงินบน blockchain มันมี CeFi กับ DeFi โดยผู้ใช้ (user) สามารถสร้างกระเป๋าเงิน (wallet) กี่กระเป๋าก็ได้ใน Chain แต่ละ Chain (Ethereum, BSC, Klaytn, ฯลฯ) ถ้าหากสร้างกระเป๋าบน CeFi ก็เช่น กระเป๋าเงินที่อยู่บน Exchange เช่น Satang Pro, Binance เป็นต้น ประเด็ดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ DeFi (Decentralized finance) […]

Continue readingMore Tag
Open post
KLAYswap KSP Token Economy and Governance

แกะ KLAYswap Economy และ $KSP Governance Token

บทความนี้ขอเล่าเกี่ยวกับ Governance Token และ Economy ของแพลตฟอร์ม KLAYswap ต้องออกตัวไว้ก่อนว่าบทความนี้ไม่ได้เจาะลึก ไม่ใช่การแนะนำการลงทุนใดๆ ทั้งนั้น! ปกติโดยทั่วๆ ไปแพลตฟอร์ม DeFi ต่างๆ จะออกเหรียญของแพลตฟอร์มตัวเอง (เรียก Governance Token) โดยที่มันมีคุณสมบัญ เช่น ใครถือเหรียญก็มีสิทธิ์มีเสียงในการโหวตนโยบายของแพลตฟอร์ม และให้ผลตอบแทนบางอย่าง และ KLAYswap ก็เป็นนึ่งในแพตฟอร์ม DeFi ที่มีเหรียญ Governance Token ชื่อ KSP เปรียบเสมือน “หุ้นบริษัท” แต่ไม่มีปันผลนะ! รู้จักกับ KLAYswap DeFi เจ้าใหญ่ของฝั่งเกาหลี(KLAYswap Economy และ KSP Tokenomics) KLAYswap เป็นแพลตฟอร์ม Decentralized Finance (DeFi) โปรโตคอลแบบ AMM-based swap protocol ฝั่งเชน Klaytn. KLAYswap เปิดตัวในเดือนพฤศจิกายน […]

Continue readingMore Tag
Open post
DeFi Platform เอาเงินจากไหนมาแจกเป็น APR ให้นักลงทุน

DeFi Platform เอาเงินใครมาแจกเป็น APR (ดอกเบี้ย) ให้สมาชิกในวงแชร์ (แชร์ไม่ใช่แชร์ลูกโซ่)

โพสบันทึกเรื่องของ DeFi หรือ Decentralized finance โลกการเงินใหม่บนเทคโนโลยี blockchain ครับ ก่อนอื่นมาทำความเข้าใจว่าคำ “Governance Token” ก่อนครับ Governance Token เป็น Marketing keyword แห่งโลกแพลตฟอร์ม DeFi นั้นเป็นสิ่งที่ผู้สร้างแพลตฟอร์ม defi กำหนดขึ้นมาตั้งแต่แรก ด้วยการวาง Pool คู่กับเหรียญอื่น ๆ เช่น เหรียญ KAI ของโปรโตคอล Kai Protocol  1 KAI : 1 bKAI โดยที่เหรียญ KAI เป็น Algorithmic Stablecoin ที่มีมูลค่าเท่ากับ $1 USDT หรือตัวอย่างอื่นๆ เช่น 100 Gov : 1000 USDT ดังนั้นราคา 1 Gov จะเท่ากับ […]

Continue readingMore Tag
Open post

รู้จักกับ Kai Protocol โปรโตคอล เหรียญ Stable Coin บน Klaytn Network

สำหรับโพสต์บทความนี้จะพาไปรูัจักกับ Stablecoin ที่ถือว่าเป็นกลไกสำคัญของ Defi ecosystem และผู้เขียนจะแนะนำให้รู้จัก Kai Protocol ที่เรียกได้ว่าเป็น next-generation cross-chain บน Kalyt Network Blockchain แห่งเกาหลีโดยโทเคนชื่อ KLAY และรักษาความเสถียรของเครือข่ายโดยมีกลไกที่เรียกว่า Proof of Contribution (PoC) และ Klaytn Improvement Reserve (KIR) ที่ประเมินความโปร่งใสและกลไกสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใช้ระบบครับ อย่างที่เราทราบกันว่าโลกของการเงินดิจิทัล โลกของคริปโทเคอร์เรนซี ปัจจุบันเราสามารถแบ่ง Stable coins ออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. Fiat backed-Stable coin (Fiat-Collateralized) คือ เหรียญ Stablecoin ที่ผูกมูลค่าเข้ากับสินทรัพย์ในอัตรา 1:1 และเหรียญคริปโทที่ได้รับความนิยมอย่างมากคือ USDT ที่ออกโดยบริษัท Tether ฮ่องกงสร้างโดยใช้กลไกรักษามูลค่าผูกกับ Fiat Currency อย่างสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) […]

Continue readingMore Tag
Open post

สร้าง Hornet IOTA (Full Node) ด้วย Docker container บน Cloud (Step by Step)

โพสบทความนี้เกี่ยวกับผู้ที่สนใจ Blockchain และเทคโนโลยี Distributed Ledger และ Token ต่างๆ เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาไปเริ่มกันเลย (คำเตือน: เกริ่นยาวก่อนเข้าเนื้อหาสาระการ Deploy ฮ่าๆๆๆ) Blockchain เทคโนโลยีที่มี Concept ตั้งอยู่บน “บัญชีธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์” หรือที่เรียกกันว่า Ledger และถูกเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ที่เรียกว่า “โหนด” Node อีกทีครับ.โดยที่และแต่ละ Node จะมีสำเนาบัญชีธุรกรรมของตัวเอง และบัญชีนี้จะถูก “กระจายศูนย์” (Distributed คือถูกก๊อปปี้ไปอยู่ในทุกๆ Node ในเครือข่าย ข้อมูลเหล่านี้จะได้รับการยอมรับ ปลอดภัยเชื่อถือได้ โดยไม่ต้องผ่านคนกลาง IOTA network (MIOTA) มี Concept เครือข่ายที่แตกต่างจากระบบเครือข่าย Blockchain แต่ก็มีความคล้ายกันในเรื่องของ ledger store data (Distributed Ledger protocol) โดยตัว IOTA จะใช้อุปกรณ์ Internet of […]

Continue readingMore Tag
Open post

บันทึกไว้อ่าน: Digital asset ในชื่อเหรียญ Cryptocurrency

คำเตือนสติ: จงลงทุนอย่างระวังเพราะสิ่งที่เราเห็นอาจจะเป็นเพียงยอดของภูเขาน้ำแข็งที่ซ่อนไว้ซึ่งความเสี่ยงมากมายมหาศาลอันไม่มีใครล่วงรู้กลิ่นอายของหายนะก็เป็นได้ครับ เราสามารถลดความเสี่ยงได้ด้วย “ความรู้” และนี้ก็เป็นเครื่องมือที่ลดความเสี่ยงที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดแล้วครับ เว้นแต่ว่าเราไม่รู้ว่า “เราไม่รู้อะไร” นั้นเอง ทำไม Blockchain ถึงต้องมี concept หรือ consensus protocol อะไรพวกนี้ PoW | PoS | PoA | PoAh ??? ปกติแอดคุ้นเคยแต่ทำ PoC ส่วนจะตัดสินใจซื้อ ไม่ซื้อนั้นอีกเรื่อง 55++ PoW | PoS | PoA | PoAhหรือแนวคิดอัลกอริทึมการออกแบบและการพิสูจน์รูปแบบต่างๆ บน Blockchain PoW (proof of work) เป็นแนวคิดอัลกอริทึมพื้นฐานสุดๆ ที่พิสูจน์ว่าทำงานเพื่อแก้สมการคณิตศาสตร์แล้วรับรางวัลไป (ให้เงินคริปโทบิตคอยน์ เรียก reward)ก็คือการพิสูจน์ยืนยันธุรกรรมและสร้างบล็อกใหม่นั้นแหละครับ. PoS (proof of stake) แนวคิดอัลกอริทึมที่แตกต่างจากการตรวจสอบธุรกรรม คือไม่ให้รางวัล แต่การสร้างบล็อกใหม่จะถูกกำหนดโดย stake […]

Continue readingMore Tag
Open post

Domain 2.0: Decentralized Domain Names (วิถีใหม่เราคือนายทะเบียนโดเมนที่ใหญ่ที่สุดในโลก)

อนาคตโดเมนของเรา เราถือครอง 100%!! จะเกิดอะไรขึ้นหาก Domain Name System เราเป็นเจ้าของ 100% พร้อมสร้างผลตอบแทนจากการลงทุน crypto และมันจะเป็นเหมือนอสังหาริมทรัพย์ออนไลน์ให้กับเราในอนาคต ปัจจุบันเราจดทะเบียนชื่อโดเมน ราคาหลักร้อยหลักพันกับผู้ให้บริการอย่าง GoDaddy, Google Domain ฯลฯ บนระบบที่เรียกว่า Centralized สิทธิ์ความเป็นเจ้าของสิ้นสุดลงเมื่ออายุโดเมนสิ้นสุดลง (เว้นแต่ควักเงินต่ออายุโดเมน) Decentralized Domain Names เราคือนายทะเบียนโดเมนที่ใหญ่ที่สุดในโลก 2 อย่างสำคัญที่โดเมนบน Blockchain แตกต่างจากโดเมนทั่วไปคือ1. เราถือครองโดเมน 100% ไม่ผ่านคนกลาง 2. ที่อยู่โดเมนอยู่บน crypto addresses นั้นหมายความว่าผู้คนทั่วโลกสามารถส่ง crypto ให้คุณไปที่ ชื่อโดเมน .crypto ได้เลยทันที (กรณีสนับสนุนคอนเท็นต์บนเว็บไซต์) การมาของ Domain 2.0 blockchain-based คือมันตัดตัวกลางออกทั้งหมดความหมายหลักคือ เราคือนายทะเบียนโดเมนที่ใหญ่ที่สุดในโลกโดยเราสามารถสร้างบริการของตนโดยตรงบน ENS blockchain ได้อย่างที่เราทราบว่า Blockchain เข้ามาเปลี่ยนโลกการเงินการทำธุรกรรมบน […]

Continue readingMore Tag
Open post

hCaptcha คอนเซปต์ใหม่ทำงานบน Ethereum blockchain

hCaptcha คอนเซปต์ใหม่ทำงานบน Ethereum blockchain เพื่อป้องกันบอทและสแปม หลายคนน่าจะคุ้นเคยกับการใช้ reCAPTCHAที่เวลาเราจะล็อกอินแล้วต้องจิ๊บๆ รูปหมาแมว สัญญาณไฟจราจร นั้นแหละครับ hCaptcha แตกต่างกับ reCAPTCHA อย่างไร? reCAPTCHA เป็นระบบพิสูจน์ความเป็นมนุษย์เพื่อป้องกันบอทและสแปมreCAPTCHA โดย Google เวอร์ชั่นล่าสุด (reCAPTCHA v.3) ได้มีการใช้รูปแบบเก็บคะแนนเพื่อระบุพฤติกรรมที่น่าสงสัย ทำให้ reCAPTCHA ไม่แสดงบ่อย และมีออปชั่น Invisibled เลยไม่รบกวนผู้ใช้อีกต่อไป (หากผู้เยี่ยมชมมาจากไอพีชุดใหม่ก็ถามนะ) ทำไมต้องใช้ hCaptcha เพื่อป้องกันบอท? สำหรับคนทำเว็บแอปพลิเคชัน reCAPTCHA เป็นหนึ่งในตัวเลือกเพื่อป้องกันบอทที่มาคอมเม้นท์ มาลงทะเบียน ซึ่งข้อมูลที่ Submit มาสร้างความลำคานให้เจ้าของเว็บไซต์เป็นอย่างมาก hCaptcha คืออะไร? hCaptcha เป็น HUMAN โปรโตคอลที่ทำงานบน Ethereum blockchain (open decentralized protocol) เน้นความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยเพื่อปกป้องความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้และ hCaptcha ยังรองรับการทำงานผ่าน API  ตัว […]

Continue readingMore Tag

Posts navigation

1 2
Scroll to top