Open post

เจาะลึก Maverick Protocol ($MAV) โมเดล AMM ใหม่ Unlocking Capital Efficiency

Maverick Protocol (MAV) ซึ่งเป็นโมเดล AMM ใหม่ที่เคลมว่าจะปลดล็อกประสิทธิภาพด้านเงินทุนที่ประสิทธิภาพสูงที่สุดในตลาด เพิ่มประสิทธิภาพของเงินทุนให้สูงสุดโดยการทำให้ capital efficiency ของสภาพคล่องเป็นไปโดยอัตโนมัติเมื่อราคาผันผวน นั้นหมายความว่าผู้ให้บริการสภาพคล่องสามารถกำหนดทิศทางราคาลงในพูลสภาพคล่องของตนได้ครับ (Dynamic Distribution AMM) Maverick is the first Dynamic Distribution AMM model. Maverick Protocol is a next-generation DeFi infrastructure provider focused on increasing industry efficiency, live on Ethereum and zkSync Era to maximize capital efficiency by Automated Liquidity Placement (ALP) in a decentralized way. Maverick […]

Continue readingMore Tag
Open post

ALEX DeFi (New ALEX Tokenomics Proposals)

ALEX DeFi protocol: Tokenomics Proposal ใหม่ เหมือน $GMX Escrowed GMX (esGMX) ออกตัวก่อนนะครับ No Investment Advice ถ้าพร้อมแล้วไปกาวกันเลย 55++[Real Yield ] Excellent proposal ครับ ซึ่งแพลตฟอร์มที่ขึ้นแท่น RealYield ก็จะมีอย่างเช่น Uniswap และ GMX ที่มีรายได้ที่ยั่งยืน ALEX DeFi protocol ถูกสร้างอยู่บน Stacks blockchain ($STX) และบันทึกธุรกรรมลงบน Bitcoin (transactions settled on Bitcoin) ALEX เป็น DeFi protocol แพลตฟอร์มเทรด Decentralized (Swap, Stake, Farm, Lend และ Spot Orderbook […]

Continue readingMore Tag
Open post

zkSync 2.0 The Future of Privacy and Scale

ทุก ๆ คนที่ลงทุนกับคริปโตเคอร์เรนซีน่าจะรู้จัก Layer-2 Solutions เป็นอย่างดี โพสนี้ไม่เหมาะกับมือใหม่ Ethereum Layer-2 scaling solution ของ zkSync 2.0 ว่าด้วยการทำธุรกรรม (โอนเหรียญ) ที่ใช้เทคนิคที่เรียกว่า ZK proof บนเครือข่าย zkSync บล็อกเชนซูโลชั่น Layer-2 Ethereum ตัวอย่างเช่น สมมติว่า Alice โอนเหรียญ 1 ETH ให้ Bob และ Bob โอนเหรียญไปให้ Charlie จำนวน 1 ETH ดังนั้นการตรวจสอบหลักฐานว่า Alice มี ETH น้อยกว่าเมื่อก่อนหรือไม่ (และยอดคงเหลือของ Bob ไม่เปลี่ยนแปลง) และ Charlie มี 1 ETH ยอดคงเหลือเพิ่มจากเดิม เทคนิคนี้จะปกป้องความเป็นส่วนตัวของคนกลาง คือ […]

Continue readingMore Tag
Open post

Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นแบบองค์รวม ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับ DeFi 2.0

Composable Finance โปรโตคอล Cross-chain โซลูชั่นโครงสร้างพื้นฐานแบบองค์รวมสำหรับ DeFi 2.0 และ Web3 ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่ให้ทำงานร่วมกันข้ามสายและข้ามเลเยอร์ ที่นำเสนอสภาพคล่องสำหรับสินทรัพย์ DeFi ที่ขับเคลื่อนโดย Layer-2 Ethereum และ Polkadot ครับ DeFi Tomorrow, Today!  Cross-chain    ปัจจุบันระบบนิเวศของโปรโตคอล DeFi ยังคงเฟื่องฟู ดูได้จากการไหลของผู้ใช้และการล็อคเหรียญ (TVL) มูลค่ารวมที่สูงในแพลตฟอร์ม DeFi (Layer-2 Ethereum) ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถกู้ ยืม แลกเปลี่ยน หรือทำธุรกรรมใดๆ ได้โดยไม่ต้องให้สถาบันการเงินมาเป็นตัวกลาง แต่ปัญหาคือ ปัจจุบัน Token ไม่ได้ล็อคไว้ในโปรโตคอลเดียว (แต่สามารถใช้ภายในโปรโตคอล DeFi อื่นๆ ได้ หรือที่นิยมเรียก DeFi 2.0)ฝากหลักประกัน ในพวก Lending โปรโตคอล (Aave) แล้วนำไป – ฝาก ฯลฯ วนไป […]

Continue readingMore Tag
Open post

Qredo Network แพลตฟอร์มจัดการสินทรัพย์ดิจิทัลแบบกระจายศูนย์ (Decentralized Custody & DeFi)

Qredo Network แพลตฟอร์มจัดการสินทรัพย์ดิจิทัลแบบกระจายศูนย์ สำหรับการดูแลความปลอดภัยสินทรัพย์ดิจิทัลระดับสถาบัน Qredo Network เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยในการดูแลและรับฝากสินทรัพย์คริปโตเคอร์เรนซี (Crypto Custody Infrastructure) ที่ช่วยให้องค์กรใหม่ๆ (หรือใครก็ได้) สามารถเข้ามาลงเล่นในสนามของการดูแลและรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัลได้ (Crypto Custody)โดยที่สามารถจัดการและให้บริการดูแลและรับฝากสินทรัพย์แก่ลูกค้าของตนได้ โดยตรงโดยไม่ต้องพึ่งพาบุคคลที่สามครับ Qredo Network ใช้เทคโนโลยี Multi-party computation (MPC) MPC เป็น cryptographic tool เครื่องมือเข้ารหัสที่ช่วยให้ฝ่ายต่างๆ (ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุน) สามารถ calculation โดยใช้ข้อมูลที่รวมกันได้ โดยไม่ต้องเปิดเผยข้อมูล individual input แต่ละธุรกรรม ใครอ่านมาถึงตรงนี้จะเล่นว่ามันคล้ายๆ กับผู้เล่นรายใหญ่ในตลาดตอนนี้คือ Fireblocks (ซึ่ง SCB 10X เข้าไปลงทุนอยู่) แต่ Qredo Network เป็นองค์กรอิสระ (DAO) ที่มีการกระจายอำนาจอย่างสมบูรณ์ (ผู้ถือโทเค็น สามารถลงคะแนนเสียงในข้อเสนอการพัฒนา Qredo ได้ที่กำกับดูแลโดย Qredo ผ่าน DAO […]

Continue readingMore Tag
Open post

Blockchain โซลูชัน Layer 2 อนาคตจะเป็นยังไง?

เมื่อความสามารถในการปรับขยาย (Scaling Solution) กลายเป็นหนามยอกอกด้านข้างของ Blockchain. โซลูชัน Layer 2 จึงพัฒนาขึ้นเพื่อเผชิญกับความท้าทายนี้! อนาคตจะเป็นยังไง? เชิญมาพรีดิค… “ซูเซ่แมน” จะเล่าให้ฟัง  เทคโนโลยี Layer 2 หรือที่เรียกว่า “L2 Protocol”  Layer 2 เป็นโปรเจคที่ถูกสร้างขึ้นมาครอบ Layer 1 (เช่น Bitcoin, Ethereum, EOS, TRON ฯลฯ) อีกที โดยที่ Layer 2 เป็นการทำ Blockchain ขึ้นมาอีกตัว โดยที่โซลูชัน Layer 2 ส่วนใหญ่ออกแบบมาเพื่อลดต้นทุน ลดค่าส่งเหรียญ (แก็ส) และเพิ่มและประสิทธิภาพในการทำธุรกรรม ในช่วง 1-2ปี ที่ผ่านมา มี Layer 2 Project โผล่ขึ้นมามากมายมหาศาล เช่น ฝั่ง Ethereum ก็จะมี Layer […]

Continue readingMore Tag
Open post

DeFi rebalancing protocol แยกให้ออกอะไรคือ DeFi yield อะไรคือ Rebalancing Farm

อย่าพึ่งเบื่อกันนะครับ คอนเซ็ปบล็อกนี้คือมัดรวมทุกอย่างที่คน IT ควรรู้ คำเตือน: ข้อความทั้งหมดเป็นความคิดเห็นส่วนตัวล้วนๆ นะครับ และ No advice on investment! โพสต์นี้ผมขอใช้ชื่อซีรีส์ว่า…“คลั่งรัก” กับ DeFi protocol ไขประตูหัวใจ IT สู่โลกการเงินสมัยใหม่ถ้าใครอ่านมาถึงบรรทัดนี้ ต้องกดแชร์แล้วแหละ 55++ที่แอดใช้คำว่า “คลั่งรัก” เพราะว่าคำนี้มักใช้อธิบายอาการของคนที่มีความรักในบางสิ่งบางอย่างแล้วอินสุดๆ ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่าตอนนี้ระบบการเงินบน blockchain มันมี CeFi กับ DeFi โดยผู้ใช้ (user) สามารถสร้างกระเป๋าเงิน (wallet) กี่กระเป๋าก็ได้ใน Chain แต่ละ Chain (Ethereum, BSC, Klaytn, ฯลฯ) ถ้าหากสร้างกระเป๋าบน CeFi ก็เช่น กระเป๋าเงินที่อยู่บน Exchange เช่น Satang Pro, Binance เป็นต้น ประเด็ดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ DeFi (Decentralized finance) […]

Continue readingMore Tag
Open post
DeFi Platform เอาเงินจากไหนมาแจกเป็น APR ให้นักลงทุน

DeFi Platform เอาเงินใครมาแจกเป็น APR (ดอกเบี้ย) ให้สมาชิกในวงแชร์ (แชร์ไม่ใช่แชร์ลูกโซ่)

โพสบันทึกเรื่องของ DeFi หรือ Decentralized finance โลกการเงินใหม่บนเทคโนโลยี blockchain ครับ ก่อนอื่นมาทำความเข้าใจว่าคำ “Governance Token” ก่อนครับ Governance Token เป็น Marketing keyword แห่งโลกแพลตฟอร์ม DeFi นั้นเป็นสิ่งที่ผู้สร้างแพลตฟอร์ม defi กำหนดขึ้นมาตั้งแต่แรก ด้วยการวาง Pool คู่กับเหรียญอื่น ๆ เช่น เหรียญ KAI ของโปรโตคอล Kai Protocol  1 KAI : 1 bKAI โดยที่เหรียญ KAI เป็น Algorithmic Stablecoin ที่มีมูลค่าเท่ากับ $1 USDT หรือตัวอย่างอื่นๆ เช่น 100 Gov : 1000 USDT ดังนั้นราคา 1 Gov จะเท่ากับ […]

Continue readingMore Tag
Open post

รู้จักกับ Kai Protocol โปรโตคอล เหรียญ Stable Coin บน Klaytn Network

สำหรับโพสต์บทความนี้จะพาไปรูัจักกับ Stablecoin ที่ถือว่าเป็นกลไกสำคัญของ Defi ecosystem และผู้เขียนจะแนะนำให้รู้จัก Kai Protocol ที่เรียกได้ว่าเป็น next-generation cross-chain บน Kalyt Network Blockchain แห่งเกาหลีโดยโทเคนชื่อ KLAY และรักษาความเสถียรของเครือข่ายโดยมีกลไกที่เรียกว่า Proof of Contribution (PoC) และ Klaytn Improvement Reserve (KIR) ที่ประเมินความโปร่งใสและกลไกสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใช้ระบบครับ อย่างที่เราทราบกันว่าโลกของการเงินดิจิทัล โลกของคริปโทเคอร์เรนซี ปัจจุบันเราสามารถแบ่ง Stable coins ออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. Fiat backed-Stable coin (Fiat-Collateralized) คือ เหรียญ Stablecoin ที่ผูกมูลค่าเข้ากับสินทรัพย์ในอัตรา 1:1 และเหรียญคริปโทที่ได้รับความนิยมอย่างมากคือ USDT ที่ออกโดยบริษัท Tether ฮ่องกงสร้างโดยใช้กลไกรักษามูลค่าผูกกับ Fiat Currency อย่างสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) […]

Continue readingMore Tag
Open post

บันทึกไว้อ่าน: Digital asset ในชื่อเหรียญ Cryptocurrency

คำเตือนสติ: จงลงทุนอย่างระวังเพราะสิ่งที่เราเห็นอาจจะเป็นเพียงยอดของภูเขาน้ำแข็งที่ซ่อนไว้ซึ่งความเสี่ยงมากมายมหาศาลอันไม่มีใครล่วงรู้กลิ่นอายของหายนะก็เป็นได้ครับ เราสามารถลดความเสี่ยงได้ด้วย “ความรู้” และนี้ก็เป็นเครื่องมือที่ลดความเสี่ยงที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดแล้วครับ เว้นแต่ว่าเราไม่รู้ว่า “เราไม่รู้อะไร” นั้นเอง ทำไม Blockchain ถึงต้องมี concept หรือ consensus protocol อะไรพวกนี้ PoW | PoS | PoA | PoAh ??? ปกติแอดคุ้นเคยแต่ทำ PoC ส่วนจะตัดสินใจซื้อ ไม่ซื้อนั้นอีกเรื่อง 55++ PoW | PoS | PoA | PoAhหรือแนวคิดอัลกอริทึมการออกแบบและการพิสูจน์รูปแบบต่างๆ บน Blockchain PoW (proof of work) เป็นแนวคิดอัลกอริทึมพื้นฐานสุดๆ ที่พิสูจน์ว่าทำงานเพื่อแก้สมการคณิตศาสตร์แล้วรับรางวัลไป (ให้เงินคริปโทบิตคอยน์ เรียก reward)ก็คือการพิสูจน์ยืนยันธุรกรรมและสร้างบล็อกใหม่นั้นแหละครับ. PoS (proof of stake) แนวคิดอัลกอริทึมที่แตกต่างจากการตรวจสอบธุรกรรม คือไม่ให้รางวัล แต่การสร้างบล็อกใหม่จะถูกกำหนดโดย stake […]

Continue readingMore Tag

Posts navigation

1 2
Scroll to top