Open post

Klaytn blockchain คืออะไร? KLAY ทำงานอย่างไร? ชัด ลึก โพสต์เดียวจบ!

ในปี 2018 Klayth บินไกลจากเกาหลีมาจัดการ Blockchain Meetup ที่กรุงเทพฯ นี่เป็นครั้งแรกที่ Ground X จะนำแพลตฟอร์ม Klaytn เปิดตัวในไทย Klaytn Blockchain แพลตฟอร์มที่เรียบง่ายและเป็นมิตรกับผู้ใช้ ออกแบบโดย GroundX ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ Kakao และ Klaytn เป็นโครงการที่ใช้บล็อกเชนเชิงธุรกิจ ในการออกแบบ Klaytn (KLAY) ทำงานเหมือนกับเครือข่าย Libra ของ Facebook Klaytn โครงการ blockchain ที่จะรวมฟังก์ชันการทำงานพิเศษของ blockchain แบบ public และ private เป็นเครือข่ายบล็อคเชนที่ให้ประสบการณ์ผู้ใช้และนักพัฒนา รวมถึงสถาบันและ retailer ผู้ค้าปลีก ภาพรวมของ Klaytn Klaytn เริ่มต้นโครงการจาก Kakao บริษัทเทคโนโลยีและบริษัทอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดของเกาหลีใต้ และ Klaytn Blockchain ถูกพัฒนาโดยหน่วยงานย่อยของ Klaytn ชื่อ Ground […]

Continue reading
Open post

เล่าให้ฟัง KLAY, KLAYswap Protocol, KAI Protocol, AMM protocol โลกของ Klaytn DeFi

โพสต์บันทึกส่วนตัวผู้เขียน ขอเกริ่นปูพื้นกระบวนการอุปทานของ “เงิน” ในโลกที่เราจิบจับเงินได้จริงๆ กันก่อนนะครับ กระบวนการอุปทานของ “เงิน” คือ การควบคุมฐานเงิน, การสร้างเงินผ่านระบบธนาคาร, ตัวทวีคูณทางการเงิน และปัจจัยที่กำหนดปริมาณเงิน มีผู้เล่นหลัก 3 ราย ที่มีส่วนในกระบวนการอุปทานของเงิน ได้แก่ ธนาคารกลาง (เป็นผู้มีความสำคัญมากที่สุด) ธนาคารพาณิชย์ หรือสถาบันรับฝากเงิน  และผู้ฝากเงิน หน้าที่ของ ธนาคารพาณิชย์ หรือสถาบัน คือ?  ทำหน้าที่เป็นคนกลางส่งผ่านเงินทุนจากผู้ออม (ฝากเงิน) ไปยังผู้ต้องการเงินทุน หรืออีกนัยหนึ่งธนาคารทำหน้าที่รับฝากเงินและปล่อยกู้ให้แก่หน่วยธุรกิจในระบบเศรษฐกิจนั้นเองครับ DeFi (Decentralized Finance) มาเพื่อตัดตัวกลางทางการเงินออกและเศรษฐศาสตร์ทางการเงินแห่งอนาคต แล้ว KLAY blockchain คืออะไร? Klayn blockchain เป็น public blockchain (enterprise-grade blockchain) สัญชาติเกาหลีที่สร้างขึ้นโดยบริษัท GroundX มีเหรียญชื่อ KLAY เป็นเหรียญ Native Token ของตนเองที่ใช้ใน ecosystem Klayn Network […]

Continue reading
Open post
DeFi Platform เอาเงินจากไหนมาแจกเป็น APR ให้นักลงทุน

DeFi Platform เอาเงินใครมาแจกเป็น APR (ดอกเบี้ย) ให้สมาชิกในวงแชร์ (แชร์ไม่ใช่แชร์ลูกโซ่)

โพสบันทึกเรื่องของ DeFi หรือ Decentralized finance โลกการเงินใหม่บนเทคโนโลยี blockchain ครับ ก่อนอื่นมาทำความเข้าใจว่าคำ “Governance Token” ก่อนครับ Governance Token เป็น Marketing keyword แห่งโลกแพลตฟอร์ม DeFi นั้นเป็นสิ่งที่ผู้สร้างแพลตฟอร์ม defi กำหนดขึ้นมาตั้งแต่แรก ด้วยการวาง Pool คู่กับเหรียญอื่น ๆ เช่น เหรียญ KAI ของโปรโตคอล Kai Protocol  1 KAI : 1 bKAI โดยที่เหรียญ KAI เป็น Algorithmic Stablecoin ที่มีมูลค่าเท่ากับ $1 USDT หรือตัวอย่างอื่นๆ เช่น 100 Gov : 1000 USDT ดังนั้นราคา 1 Gov จะเท่ากับ […]

Continue reading
Open post

รู้จักกับ Kai Protocol โปรโตคอล เหรียญ Stable Coin บน Klaytn Network

สำหรับโพสต์บทความนี้จะพาไปรูัจักกับ Stablecoin ที่ถือว่าเป็นกลไกสำคัญของ Defi ecosystem และผู้เขียนจะแนะนำให้รู้จัก Kai Protocol ที่เรียกได้ว่าเป็น next-generation cross-chain บน Kalyt Network Blockchain แห่งเกาหลีโดยโทเคนชื่อ KLAY และรักษาความเสถียรของเครือข่ายโดยมีกลไกที่เรียกว่า Proof of Contribution (PoC) และ Klaytn Improvement Reserve (KIR) ที่ประเมินความโปร่งใสและกลไกสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใช้ระบบครับ อย่างที่เราทราบกันว่าโลกของการเงินดิจิทัล โลกของคริปโทเคอร์เรนซี ปัจจุบันเราสามารถแบ่ง Stable coins ออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. Fiat backed-Stable coin (Fiat-Collateralized) คือ เหรียญ Stablecoin ที่ผูกมูลค่าเข้ากับสินทรัพย์ในอัตรา 1:1 และเหรียญคริปโทที่ได้รับความนิยมอย่างมากคือ USDT ที่ออกโดยบริษัท Tether ฮ่องกงสร้างโดยใช้กลไกรักษามูลค่าผูกกับ Fiat Currency อย่างสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) […]

Continue reading
Open post

ตั้งศูนย์บัญชาการ Kubernetes ด้วย Kubefed (Multi-Region Kubernetes Cluster Federation)

ในบทความนี้จะมี marketing keywords คำหลักๆ อยู่ 3 คำคือ Kubernetes Cluster, Multi-Region Kubernetes, Federation ครับ แล้ว Kubernetes Cluster คืออะไร? คือชุดของ Host container ของเราสำหรับรัน Application ซึ่งทำงานใน container เหล่านี้ครับและ Host เหล่านี้เรียกว่า Node ของ Kubernetes คลัสเตอร์ ทุกคลัสเตอร์ Kubernetes จะมีอย่างน้อย 1 Master node และ 1 Worker node โดยหน้าที่หลักของ Master node จะมีหน้าที่กำหนดกฏเกณฑ์ตั้งค่าต่างๆ ส่วน Worker node ทำหน้าที่เป็นโปรแกรมเรียกใช้ Application ใน container. Multi-Region Kubernetes กับ […]

Continue reading
Open post

Private OpenVPN
 Server ด้วย Docker container บน Multi-Cloud

สำหรับบทความนี้เราจะไปติดตั้งระบบ Private VPN ด้วยซอฟต์แวร์ OpenVPN กันครับ โดยจะเป็นการ deploy ด้วย Docker container บน Multi-Cloud Platform-as-a-Service ครับ ซึ่งการติดตั้งก็ง่ายสุดๆ เพราะเลือกติดตั้งแบบ 1-Click install ได้เลยจาก Marketplace โดยที่เราสามารถเลือกโหมดติดตั้ง OpenVPN ได้ 2 รูปแบบคือ คำเตือน: ไม่ขออธิบายว่า OpenVPN คืออะไรนะครับ อันนี้สามารถเปิดกูเกิลค้นหาอ่านเพิ่มเติมได้! Secure Internet Access (โหมดท่องอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย) – ซูโลชั่นสำหรับให้การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่ปลอดภัยและป้องกันภัยคุกคามจาก Wi-Fi สาธารณะ– เป็นนโยบายการใช้อินเทอร์เน็ตขององค์กรที่ต้องการรับส่งข้อมูลอย่างปลอดภัย– โหมดนี้จะใช้ DNS คิวรีของ Google (Google Public DNS) Secure Remote Access (เข้าถึงทรัพยากรขององค์กรภายใน Environment group) – ซูโลชั่นนี้สำหรับให้บริการพนักงาน […]

Continue reading
Open post

สร้าง Hornet IOTA (Full Node) ด้วย Docker container บน Cloud (Step by Step)

โพสบทความนี้เกี่ยวกับผู้ที่สนใจ Blockchain และเทคโนโลยี Distributed Ledger และ Token ต่างๆ เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาไปเริ่มกันเลย (คำเตือน: เกริ่นยาวก่อนเข้าเนื้อหาสาระการ Deploy ฮ่าๆๆๆ) Blockchain เทคโนโลยีที่มี Concept ตั้งอยู่บน “บัญชีธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์” หรือที่เรียกกันว่า Ledger และถูกเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ที่เรียกว่า “โหนด” Node อีกทีครับ.โดยที่และแต่ละ Node จะมีสำเนาบัญชีธุรกรรมของตัวเอง และบัญชีนี้จะถูก “กระจายศูนย์” (Distributed คือถูกก๊อปปี้ไปอยู่ในทุกๆ Node ในเครือข่าย ข้อมูลเหล่านี้จะได้รับการยอมรับ ปลอดภัยเชื่อถือได้ โดยไม่ต้องผ่านคนกลาง IOTA network (MIOTA) มี Concept เครือข่ายที่แตกต่างจากระบบเครือข่าย Blockchain แต่ก็มีความคล้ายกันในเรื่องของ ledger store data (Distributed Ledger protocol) โดยตัว IOTA จะใช้อุปกรณ์ Internet of […]

Continue reading
Open post
Monitoring MySQL, MariaDB/Galera Cluster ด้วย Prometheus + Grafana

Monitor MySQL, MariaDB Galera Cluster ด้วย Prometheus + Grafana

ก่อนหน้าผู้เขียนก็มีโพสต์เกี่ยวกับเรื่อง Grafana ไปหลายบทความแล้วดูได้ที่นี่ และบทความนี้เราจะมาทำระบบ Monitoring ด้วย Prometheus และ Grafana กันครับ โดยจะใช้ Prometheus ซึ่งเป็น open-source เป็นฐานข้อมูล และใช้ตัว Grafana ทำหน้าที่แสดงค่าต่างๆ โดยใช้ Exporter ดึงข้อมูลหรือ query เพื่อนำมาแสดงค่า ซึ่งเราจะเพิ่ม Exporter หลักๆ 2 ตัวเข้ามาใน Prometheus และ deploy stack ด้วย docker-compose. 1. node-exporter (Server system data collection)2. mysqld_exporter (MySQL server data collection) node-exporter เป็น Exporter ตัวหนึ่งใน Prometheus ที่เอาไว้ดึงค่าต่างๆ ของฮาร์ดแวร์ภายในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เช่น CPU, Disk, Memory […]

Continue reading
Open post

ทำ Cloud Desktop (DaaS) บน Platform-as-a-service (PaaS)

สำหรับโพสต์นี้ผู้เขียนจะพาไปติดตั้ง Cloud Desktop ด้วยซอฟต์แวร์ NoMachine สำหรับให้บริการ DaaS (Desktop as a Service) โดย Desktop GUI เป็น GNOME. แล้ว DaaS คืออะไร? ต่างจาก VDI มั้ย? ปกติเราจะคุ้นชินกันกับคำว่า “Desktop” มันต้องอยู่บน PC, Laptop ซิ จะอยู่บน Cloud ได้ยังไง?เมื่อก่อนการติดตั้งโปรแกรม Deply ก็ต้องมานั่งติดตั้งหรือโคลนกันทุก ๆ เครื่อง ปัจจุบันนี้ก็ง่ายขึ้นมาหน่อย มีซอฟต์แวร์ Deploy จัดการการติดตั้งโปรแกรมพวกนี้เยอะแยะครับ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องอัปเดตช่องโหว่ เป็นต้น แต่ผู้ดูแลระบบก็ยังต้องค่อยดูแลทุกเครื่องอยู่นะครับ แต่พอเปลี่ยนมาเป็น Cloud Desktop อันนี้ผู้ให้บริการจะเป็นผู้ดูแล(หรือแอดมิน) มีหน้าที่ดูแล Image ของ Virtual Desktop ให้และค่อยมอนิเตอร์ปรับปรุงความมั่นคงปลอดภัยโดยรวมของระบบให้ COVID-19 highlighted the […]

Continue reading
Open post

บันทึกไว้อ่าน: Digital asset ในชื่อเหรียญ Cryptocurrency

คำเตือนสติ: จงลงทุนอย่างระวังเพราะสิ่งที่เราเห็นอาจจะเป็นเพียงยอดของภูเขาน้ำแข็งที่ซ่อนไว้ซึ่งความเสี่ยงมากมายมหาศาลอันไม่มีใครล่วงรู้กลิ่นอายของหายนะก็เป็นได้ครับ เราสามารถลดความเสี่ยงได้ด้วย “ความรู้” และนี้ก็เป็นเครื่องมือที่ลดความเสี่ยงที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดแล้วครับ เว้นแต่ว่าเราไม่รู้ว่า “เราไม่รู้อะไร” นั้นเอง ทำไม Blockchain ถึงต้องมี concept หรือ consensus protocol อะไรพวกนี้ PoW | PoS | PoA | PoAh ??? ปกติแอดคุ้นเคยแต่ทำ PoC ส่วนจะตัดสินใจซื้อ ไม่ซื้อนั้นอีกเรื่อง 55++ PoW | PoS | PoA | PoAhหรือแนวคิดอัลกอริทึมการออกแบบและการพิสูจน์รูปแบบต่างๆ บน Blockchain PoW (proof of work) เป็นแนวคิดอัลกอริทึมพื้นฐานสุดๆ ที่พิสูจน์ว่าทำงานเพื่อแก้สมการคณิตศาสตร์แล้วรับรางวัลไป (ให้เงินคริปโทบิตคอยน์ เรียก reward)ก็คือการพิสูจน์ยืนยันธุรกรรมและสร้างบล็อกใหม่นั้นแหละครับ. PoS (proof of stake) แนวคิดอัลกอริทึมที่แตกต่างจากการตรวจสอบธุรกรรม คือไม่ให้รางวัล แต่การสร้างบล็อกใหม่จะถูกกำหนดโดย stake […]

Continue reading

Posts navigation

1 2 3 4 5 6 10 11 12
Scroll to top