Open post

Qredo Network แพลตฟอร์มจัดการสินทรัพย์ดิจิทัลแบบกระจายศูนย์ (Decentralized Custody & DeFi)

Qredo Network แพลตฟอร์มจัดการสินทรัพย์ดิจิทัลแบบกระจายศูนย์ สำหรับการดูแลความปลอดภัยสินทรัพย์ดิจิทัลระดับสถาบัน Qredo Network เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยในการดูแลและรับฝากสินทรัพย์คริปโตเคอร์เรนซี (Crypto Custody Infrastructure) ที่ช่วยให้องค์กรใหม่ๆ (หรือใครก็ได้) สามารถเข้ามาลงเล่นในสนามของการดูแลและรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัลได้ (Crypto Custody)โดยที่สามารถจัดการและให้บริการดูแลและรับฝากสินทรัพย์แก่ลูกค้าของตนได้ โดยตรงโดยไม่ต้องพึ่งพาบุคคลที่สามครับ Qredo Network ใช้เทคโนโลยี Multi-party computation (MPC) MPC เป็น cryptographic tool เครื่องมือเข้ารหัสที่ช่วยให้ฝ่ายต่างๆ (ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุน) สามารถ calculation โดยใช้ข้อมูลที่รวมกันได้ โดยไม่ต้องเปิดเผยข้อมูล individual input แต่ละธุรกรรม ใครอ่านมาถึงตรงนี้จะเล่นว่ามันคล้ายๆ กับผู้เล่นรายใหญ่ในตลาดตอนนี้คือ Fireblocks (ซึ่ง SCB 10X เข้าไปลงทุนอยู่) แต่ Qredo Network เป็นองค์กรอิสระ (DAO) ที่มีการกระจายอำนาจอย่างสมบูรณ์ (ผู้ถือโทเค็น สามารถลงคะแนนเสียงในข้อเสนอการพัฒนา Qredo ได้ที่กำกับดูแลโดย Qredo ผ่าน DAO […]

Continue readingMore Tag
Open post

Orchid แพลตฟอร์ม VPN แบบกระจายอำนาจที่สร้างขึ้นบนบล็อกเชน Ethereum (ที่จะมาแทน VPN แบบดั่งเดิม)

Orchid VPN แบบกระกายศุนย์ หรือ Decentralized virtual private network (เครือข่ายส่วนตัวเสมือนที่สื่อสารแบบไม่เปิดเผยตัวตน) ใครยังจำเรื่องราวเกี่ยวกับ Hidemyass ผู้ให้บริการ VPN ที่ส่งมอบข้อมูลผู้ใช้ให้กับทางการสหรัฐฯ และอีกหนึ่งกรณีที่ NordVPN ผู้ให้บริการ VPN ระดับโลก ถูก hacked หรือว่าบริการ VPN แบบกระกายศุนย์อาจไม่ปลอดภัย? ก่อนจะเข้าเรื่องผู้เขียนขอเกรินอธิบาย VPN ง่ายๆ สั้นก่อนจะไปสู่ A new model of VPN ปัจจุบันบริการ VPN เป็นแบบรวมศูนย์ ให้บริการเชื่อมต่อ VPN ที่ถูกเข้ารหัสด้วยโปรโตคอล เช่น openVPN, WireGuard หรือ PPTP, L2TP over IPsec หรือโปรแกรมอื่นๆ (ที่เราต้องใช้โปรแกรมไคลเอ็นต์เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ VPN) ส่วนผุ้ใช้อย่างเราๆ ก็จ่ายค่าบริการ VPN เป็นแบบรายเดือน (ยังไม่มีจ่ายตามใช้งานจริง) เวลาใช้งานหากเซิร์ฟเวอร์ VPN […]

Continue readingMore Tag
Open post
Ethereum-scaling-solution

เหตุใด layer-2 scaling solution จึงเป็นอาวุธลับของ Ethereum Blockchain?

จุดเกิดเหตุ: เมื่อผู้ใช้งานมีจำนวนมากบน Ethereum Blockchain สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาคือ โครงสร้างพื้นฐาน Ethereum มันไม่สามารถรองรับการทำธุรกิจกรรมที่มหาศาลได้ ทำธุรกรรมช้า บวกค่า Gas แพงโครต (เหมาะกับคนเทรดหนักๆ ใช้หลายๆ DEX พร้อมๆ กัน ^^) ประเภทของ L2 Solutions (หรือ Framework) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ On-Chain Scaling Off-Chain Scaling On-Chain Scaling กับ Off-Chain Scaling ต่างกันยังไง? On-Chain Scaling เป็นการกระจายธุรกรรมแบบขนานไปกับ Main chain โดยผู้ตรวจสอบแต่ละรายไม่ต้องดำเนินการธุรกรรมทั้งหมดจากทั้งเครือข่ายทุก Node ทั่วโลก (วิธี Sharding) Off-Chain Scaling เป็นแบบยืนยันธุรกรรมบน Mainnet Layer-1 Off-Chain แบ่งเป็น 3 แบบ State […]

Continue readingMore Tag
Open post

Blockchain โซลูชัน Layer 2 อนาคตจะเป็นยังไง?

เมื่อความสามารถในการปรับขยาย (Scaling Solution) กลายเป็นหนามยอกอกด้านข้างของ Blockchain. โซลูชัน Layer 2 จึงพัฒนาขึ้นเพื่อเผชิญกับความท้าทายนี้! อนาคตจะเป็นยังไง? เชิญมาพรีดิค… “ซูเซ่แมน” จะเล่าให้ฟัง  เทคโนโลยี Layer 2 หรือที่เรียกว่า “L2 Protocol”  Layer 2 เป็นโปรเจคที่ถูกสร้างขึ้นมาครอบ Layer 1 (เช่น Bitcoin, Ethereum, EOS, TRON ฯลฯ) อีกที โดยที่ Layer 2 เป็นการทำ Blockchain ขึ้นมาอีกตัว โดยที่โซลูชัน Layer 2 ส่วนใหญ่ออกแบบมาเพื่อลดต้นทุน ลดค่าส่งเหรียญ (แก็ส) และเพิ่มและประสิทธิภาพในการทำธุรกรรม ในช่วง 1-2ปี ที่ผ่านมา มี Layer 2 Project โผล่ขึ้นมามากมายมหาศาล เช่น ฝั่ง Ethereum ก็จะมี Layer […]

Continue readingMore Tag
Open post

DeFi rebalancing protocol แยกให้ออกอะไรคือ DeFi yield อะไรคือ Rebalancing Farm

อย่าพึ่งเบื่อกันนะครับ คอนเซ็ปบล็อกนี้คือมัดรวมทุกอย่างที่คน IT ควรรู้ คำเตือน: ข้อความทั้งหมดเป็นความคิดเห็นส่วนตัวล้วนๆ นะครับ และ No advice on investment! โพสต์นี้ผมขอใช้ชื่อซีรีส์ว่า…“คลั่งรัก” กับ DeFi protocol ไขประตูหัวใจ IT สู่โลกการเงินสมัยใหม่ถ้าใครอ่านมาถึงบรรทัดนี้ ต้องกดแชร์แล้วแหละ 55++ที่แอดใช้คำว่า “คลั่งรัก” เพราะว่าคำนี้มักใช้อธิบายอาการของคนที่มีความรักในบางสิ่งบางอย่างแล้วอินสุดๆ ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่าตอนนี้ระบบการเงินบน blockchain มันมี CeFi กับ DeFi โดยผู้ใช้ (user) สามารถสร้างกระเป๋าเงิน (wallet) กี่กระเป๋าก็ได้ใน Chain แต่ละ Chain (Ethereum, BSC, Klaytn, ฯลฯ) ถ้าหากสร้างกระเป๋าบน CeFi ก็เช่น กระเป๋าเงินที่อยู่บน Exchange เช่น Satang Pro, Binance เป็นต้น ประเด็ดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ DeFi (Decentralized finance) […]

Continue readingMore Tag
Open post
KLAYswap KSP Token Economy and Governance

แกะ KLAYswap Economy และ $KSP Governance Token

บทความนี้ขอเล่าเกี่ยวกับ Governance Token และ Economy ของแพลตฟอร์ม KLAYswap ต้องออกตัวไว้ก่อนว่าบทความนี้ไม่ได้เจาะลึก ไม่ใช่การแนะนำการลงทุนใดๆ ทั้งนั้น! ปกติโดยทั่วๆ ไปแพลตฟอร์ม DeFi ต่างๆ จะออกเหรียญของแพลตฟอร์มตัวเอง (เรียก Governance Token) โดยที่มันมีคุณสมบัญ เช่น ใครถือเหรียญก็มีสิทธิ์มีเสียงในการโหวตนโยบายของแพลตฟอร์ม และให้ผลตอบแทนบางอย่าง และ KLAYswap ก็เป็นนึ่งในแพตฟอร์ม DeFi ที่มีเหรียญ Governance Token ชื่อ KSP เปรียบเสมือน “หุ้นบริษัท” แต่ไม่มีปันผลนะ! รู้จักกับ KLAYswap DeFi เจ้าใหญ่ของฝั่งเกาหลี(KLAYswap Economy และ KSP Tokenomics) KLAYswap เป็นแพลตฟอร์ม Decentralized Finance (DeFi) โปรโตคอลแบบ AMM-based swap protocol ฝั่งเชน Klaytn. KLAYswap เปิดตัวในเดือนพฤศจิกายน […]

Continue readingMore Tag
Open post

Klaytn blockchain คืออะไร? KLAY ทำงานอย่างไร? ชัด ลึก โพสต์เดียวจบ!

ในปี 2018 Klayth บินไกลจากเกาหลีมาจัดการ Blockchain Meetup ที่กรุงเทพฯ นี่เป็นครั้งแรกที่ Ground X จะนำแพลตฟอร์ม Klaytn เปิดตัวในไทย Klaytn Blockchain แพลตฟอร์มที่เรียบง่ายและเป็นมิตรกับผู้ใช้ ออกแบบโดย GroundX ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ Kakao และ Klaytn เป็นโครงการที่ใช้บล็อกเชนเชิงธุรกิจ ในการออกแบบ Klaytn (KLAY) ทำงานเหมือนกับเครือข่าย Libra ของ Facebook Klaytn โครงการ blockchain ที่จะรวมฟังก์ชันการทำงานพิเศษของ blockchain แบบ public และ private เป็นเครือข่ายบล็อคเชนที่ให้ประสบการณ์ผู้ใช้และนักพัฒนา รวมถึงสถาบันและ retailer ผู้ค้าปลีก ภาพรวมของ Klaytn Klaytn เริ่มต้นโครงการจาก Kakao บริษัทเทคโนโลยีและบริษัทอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดของเกาหลีใต้ และ Klaytn Blockchain ถูกพัฒนาโดยหน่วยงานย่อยของ Klaytn ชื่อ Ground […]

Continue readingMore Tag
Open post

เล่าให้ฟัง KLAY, KLAYswap Protocol, KAI Protocol, AMM protocol โลกของ Klaytn DeFi

โพสต์บันทึกส่วนตัวผู้เขียน ขอเกริ่นปูพื้นกระบวนการอุปทานของ “เงิน” ในโลกที่เราจิบจับเงินได้จริงๆ กันก่อนนะครับ กระบวนการอุปทานของ “เงิน” คือ การควบคุมฐานเงิน, การสร้างเงินผ่านระบบธนาคาร, ตัวทวีคูณทางการเงิน และปัจจัยที่กำหนดปริมาณเงิน มีผู้เล่นหลัก 3 ราย ที่มีส่วนในกระบวนการอุปทานของเงิน ได้แก่ ธนาคารกลาง (เป็นผู้มีความสำคัญมากที่สุด) ธนาคารพาณิชย์ หรือสถาบันรับฝากเงิน  และผู้ฝากเงิน หน้าที่ของ ธนาคารพาณิชย์ หรือสถาบัน คือ?  ทำหน้าที่เป็นคนกลางส่งผ่านเงินทุนจากผู้ออม (ฝากเงิน) ไปยังผู้ต้องการเงินทุน หรืออีกนัยหนึ่งธนาคารทำหน้าที่รับฝากเงินและปล่อยกู้ให้แก่หน่วยธุรกิจในระบบเศรษฐกิจนั้นเองครับ DeFi (Decentralized Finance) มาเพื่อตัดตัวกลางทางการเงินออกและเศรษฐศาสตร์ทางการเงินแห่งอนาคต แล้ว KLAY blockchain คืออะไร? Klayn blockchain เป็น public blockchain (enterprise-grade blockchain) สัญชาติเกาหลีที่สร้างขึ้นโดยบริษัท GroundX มีเหรียญชื่อ KLAY เป็นเหรียญ Native Token ของตนเองที่ใช้ใน ecosystem Klayn Network […]

Continue readingMore Tag
Open post
DeFi Platform เอาเงินจากไหนมาแจกเป็น APR ให้นักลงทุน

DeFi Platform เอาเงินใครมาแจกเป็น APR (ดอกเบี้ย) ให้สมาชิกในวงแชร์ (แชร์ไม่ใช่แชร์ลูกโซ่)

โพสบันทึกเรื่องของ DeFi หรือ Decentralized finance โลกการเงินใหม่บนเทคโนโลยี blockchain ครับ ก่อนอื่นมาทำความเข้าใจว่าคำ “Governance Token” ก่อนครับ Governance Token เป็น Marketing keyword แห่งโลกแพลตฟอร์ม DeFi นั้นเป็นสิ่งที่ผู้สร้างแพลตฟอร์ม defi กำหนดขึ้นมาตั้งแต่แรก ด้วยการวาง Pool คู่กับเหรียญอื่น ๆ เช่น เหรียญ KAI ของโปรโตคอล Kai Protocol  1 KAI : 1 bKAI โดยที่เหรียญ KAI เป็น Algorithmic Stablecoin ที่มีมูลค่าเท่ากับ $1 USDT หรือตัวอย่างอื่นๆ เช่น 100 Gov : 1000 USDT ดังนั้นราคา 1 Gov จะเท่ากับ […]

Continue readingMore Tag
Open post

รู้จักกับ Kai Protocol โปรโตคอล เหรียญ Stable Coin บน Klaytn Network

สำหรับโพสต์บทความนี้จะพาไปรูัจักกับ Stablecoin ที่ถือว่าเป็นกลไกสำคัญของ Defi ecosystem และผู้เขียนจะแนะนำให้รู้จัก Kai Protocol ที่เรียกได้ว่าเป็น next-generation cross-chain บน Kalyt Network Blockchain แห่งเกาหลีโดยโทเคนชื่อ KLAY และรักษาความเสถียรของเครือข่ายโดยมีกลไกที่เรียกว่า Proof of Contribution (PoC) และ Klaytn Improvement Reserve (KIR) ที่ประเมินความโปร่งใสและกลไกสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใช้ระบบครับ อย่างที่เราทราบกันว่าโลกของการเงินดิจิทัล โลกของคริปโทเคอร์เรนซี ปัจจุบันเราสามารถแบ่ง Stable coins ออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. Fiat backed-Stable coin (Fiat-Collateralized) คือ เหรียญ Stablecoin ที่ผูกมูลค่าเข้ากับสินทรัพย์ในอัตรา 1:1 และเหรียญคริปโทที่ได้รับความนิยมอย่างมากคือ USDT ที่ออกโดยบริษัท Tether ฮ่องกงสร้างโดยใช้กลไกรักษามูลค่าผูกกับ Fiat Currency อย่างสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) […]

Continue readingMore Tag

Posts navigation

1 2 3
Scroll to top